Page 35 -
P. 35
ุ
ื
ิ
ั
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
์
กนกพร นุ่มทอง
วิธีการฝึกฝน:
1. ค่อยๆ พฒนาระดับความคล่องแคล่วของการฟงและเลือกใช้กับ
ั
ั
การวิเคราะห์ไปพร้อมกันโดยอิงตามความหนาแน่นของสารสนเทศ จากง่าย
ไปหายาก
2. อาจารย์จดบันทึกย่อพร้อมกับลูกศิษย์ หลังจากแปลแบบล่ามให้ดู
เป็นตัวอย่าง เปิดให้ดูบันทึกเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ
์
3. สามารถใช้บันทึกคลิปการบรรยาย การแถลงข่าว การสัมภาษณ์
ฯลฯ เป็นสื่อการสอน” (杨承淑, 2005: 9-10)
ข้อแนะน าดังกล่าวสามารถน ามาปรับใช้ได้กับการฝึกฝนจดบันทึกใน
ึ
การปฏิบัติงานล่ามจีน-ไทย ไทย-จีน อย่างไรก็ดี พงตระหนักว่า การจด
บันทึกในงานล่าม เป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานล่ามผู้นั้นเท่านั้น ไม่
จ าเป็นต้องยึดหลักการใดตายตัว ล่ามแต่ละคนย่อมมีวิธีจดของตนเอง ไม่มี
หลักการใดเหมาะสมหรือใช้ได้กับคนทุกคน เป็นต้นว่า ค าแนะน าข้างต้น
แนะน าให้ใช้ปากกาลูกลื่นสองสี ผู้เขียนได้ทดลองน ามาใช้กับลูกศิษย์แล้ว
่
พบว่า คนส่วนใหญไม่ถนัดกับการใช้ปากกาสองหัวที่มีคนละสี มีอาการ
สะดุดบ่อย เสียจังหวะการจดเมื่อพลิกกลับปากกา ยิ่งไปกว่านั้น มีบางคนมี
อาการลังเลว่าข้อความไหนควรจะใช้ปากกาสีอะไร ท้ายที่สุด การจดด้วย
ปากกาสีเดียวง่ายและมีประสิทธิภาพสูงกว่า
อย่างไรก็ดี ผู้เขียนได้รวบรวมข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเทคนิคและ
วิธีการจดบันทึกในงานล่ามจีน-ไทย ไทย-จีน จากประสบการณของผู้เขียน
์
เองและจากลูกศิษย์ที่ปฏิบัติงานล่ามไว้หลายประเด็น ครอบคลุมทั้งการ
26 บทที่ 2 การจดบันทึกเพื่อช่วยจ า