Page 108 -
P. 108
์
ื
ิ
ิ
ิ
ั
ุ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
หลักฐานล้านนาในเอกสารโบราณจีน
ิ
ต าแหน่ง เป็นต าแหน่งรองของไท่ฉังชง มีไท่ฉังซื่อเซ่าชง 1 คนที่ได้รับมอบหมายให้ก ากับ
ิ
ส านักซื่ออี๋ ข้อความที่ขีดเส้นใต้นั้นไม่เกี่ยวกับล้านนาโดยตรง แต่ผู้แปลเห็นว่าเกี่ยวข้องกับ
ล้านนาเพราะสยามมีพรมแดนติดกับล้านนา จึงคัดอักษรจีนมาเพิ่มและแปลไว้
ส านักซื่ออี๋(四夷馆)ในสมัยโบราณจีนเรียกชนเผ่าต่างๆ นอกจีนโดยประกอบกับทิศ
ว่า หนานหมาน(南蛮)- พวกหมานทางใต้ เป่ยตี๋(北狄)- พวกตี๋ทางเหนือ ซีหรง(西
戎)-พวกหรงทางตะวันตก และตงอี๋(东夷)- พวกอี๋ทางตะวันออก บางครั้งก็ใชเรียก
้
ี๋
รวมทั้งหมานอี๋หรงตี๋ ว่า หมานอี๋(蛮夷)- พวกหมานพวกอ หรือ ซื่ออ(四夷)- พวกอทั้ง
ี๋
ี๋
ี๋
สี่ ส านักซื่ออเป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นเพื่อแปลภาษาชนชาติส่วนน้อยตามชายแดนและภาษา
เพื่อนบ้าน ส านักซื่ออี๋ จึงหมายถึงส านักแปลภาษาที่เกี่ยวข้องกับชนเผ่าต่างๆ หรือชาติต่างๆ
ส านักซื่ออี๋ตั้งขึ้นปีที่ 5 แห่งรัชศกหย่งเล่อ ตรงกับปี ค.ศ.1407 / พ.ศ.1950 ที่ท าการอยู่
ที่ปักกิ่ง แรกตั้งสังกัดส านักบัณฑิตฮั่นหลิน(翰林院)ต่อมามอบหมายให้ไท่ฉังซื่อเซ่าชง
ิ
เป็นผู้ก ากับดูแล เมื่อแรกตั้งแบ่งเป็น 8 ส านักภาษา ได้แก่ เหมิงกู่ หนี่ว์จื๋อ ซีฟาน ซีเทียน หุย
ั
หุย ไป่อี๋ เกาชง และเหมี่ยนเตี้ยน เหมิงกู่(蒙古)คือมองโกล หนี่ว์จื๋อ คือหนี่ว์เจิน(女
真)ของชนเผ่าหนี่ว์เจินซึ่งต่อมาเปลี่ยนชอเป็นหม่านโจว(满洲)หรือแมนจูในปี ค.ศ.
ื่
1636 / พ.ศ.2179 ซีฟาน(西番)หมายถึงทิเบต ซีเทียน(西天)คือสันสกฤต หุยหุย
ั
(回回)คือเปอร์เซีย ไป่อี๋(百夷)คืออี๋ร้อยจ าพวก ในที่นี้คือไต เกาชง(高昌)
หมายถึงฉาเหอไถ(察合台)ภาษาฉาเหอไถเป็นภาษาเผ่าทูเจ๋ว์ (เติร์ก) ชนิดหนึ่งซึ่งเคย
แพร่หลายในอาณาจักรข่านฉาเหอไถของจักรวรรดิมองโกล ภาษาฉาเหอไถเป็นภาษาถิ่นทาง
ี
ตะวันออกเฉียงใต้ของเผ่าทูเจ๋ว์ เคยเป็นภาษาที่แพร่หลายในหมู่พ่อค้าในเอเชยกลาง และได้
่
พัฒนากลายเป็นภาษาถิ่นอื่น เชนภาษาเหวยอู๋เอ่อร์ ภาษาอุซเบกิสถาน ต่อมาชาวรัสเซียเข้า
มาในเอเชียกลางมาก ภาษาฉาเหอไถได้สูญหายไป ส่วนเหมี่ยนเตี้ยน(缅甸)นั้นคือพม่า
81