Page 58 -
P. 58
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
54
ตัวแปร ECT แสดงการเบี่ยงเบนออกจากความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาวของตัวแปรราคาต้นทาง
p
p
(error correction term) โดยที่ ECT out,t-1 = p out,t-1 − 0 − 1 in,t-1 เมื่อ p out,t-1 = 0 + 1 in,t-1 คือสมการ
แสดงความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาวระหว่างราคาต้นทางและราคาปลายทาง (cointegration vector)
+
สำหรับแบบจำลอง (6.1) จะมีตัวแปรแสดงการเบี่ยงเบนออกจากดุลยภาพอยู่สองแบบ คือ ECT out,t 1 − แสดงถึง
−
p
กรณีราคาต้นปลายทางอยู่สูงกว่าราคาดุลยภาพในระยะยาว (p out,t-1 − 0 − 1 in,t-1 ) 0 และ ECT out,t 1− แสดง
p
ถึงกรณีราคาปลายทางอยู่ต่ำกว่าราคาดุลยภาพในระยะยาว (p out,t-1 − 0 − 1 in,t-1 ) 0 และมีค่าสัมประสิทธิ์
ความเร็วในการปรับตัวกลับเข้าสู่ดุลยภาพคือ และ ตามลำดับ ค่าสัมประสิทธิ์ดังกล่าวจะต้องมีค่าอยู่
−
+
out
out
ระหว่าง -1 จนถึง 0 ถ้าค่าสัมประสิทธิ์การปรับตัวมีค่าเข้าใกล้ -1 แสดงว่าราคาจะมีการปรับตัวเพื่อกลับเข้าสู่ดุลย
ภาพอย่างรวดเร็ว ในทางตรงกันข้ามถ้าค่าสัมประสิทธิ์การปรับตัวมีค่าเข้าใกล้ 0 แสดงว่าราคาจะมีการปรับตัวเพื่อ
กลับเข้าสู่ดุลยภาพอย่างเชื่องช้า และถ้าหากว่า out out แสดงว่าความเร็วในการปรับตัวของราคาเพื่อกลับเข้าสู่
−
+
−
ดุลยภาพในช่วงปรับขึ้นและช่วงปรับลงมีความไม่สมมาตร แต่ถ้าพบว่า out = out หมายความความเร็วในการ
+
ปรับตัวของราคาเพื่อกลับเข้าสู่ดุลยภาพในระยะยาวระหว่างทิศทางสูงขึ้นและทิศทางลดลงมีความสมมาตร
นอกจากนั้นค่าสัมประสิทธิ์ และ สามารถนำมาใช้เพื่อคำนวณผลกระทบจากการ
−
+
out,j
in,j
in,j
M K
เปลี่ยนแปลงราคาต้นทางที่มีต่อราคาปลายทางในระยะยาวได้อีกด้วย โดยที่ in,j 1− out,j คือค่า
+
j=1 j=1
ความยืดหยุ่นในระยะยาว (long run elasticity) ของราคาปลายทางต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาต้นทางเพิ่มขึ้น
M K
ร้อยละหนึ่ง ในขณะที่ in,j 1− out,j คือค่าความยืดหยุ่นในระยะยาว ซึ่งวัดผลกระทบของการ
−
j=1 j=1
เปลี่ยนแปลงของราคาต้นทางลดลงร้อยละหนึ่งต่อราคาปลายทาง ถ้าหากว่า in,j + in,j แสดงว่า
−
ผลกระทบในระยะยาวสำหรับกรณีราคาต้นทางปรับขึ้นกับกรณีราคาต้นทางปรับลงมีความไม่สมมาตร แต่ถ้าพบว่า
in,j + = in,j ผลกระทบในระยะยาวมีความสมมาตรทั้งในกรณีราคาต้นทางปรับขึ้นและลดลง
−
เมื่อพิจาณาถึงความเป็นไปได้ของความไม่สมมาตรในการปรับตัวในสมการ (6.1) ดังที่กล่าวมาแล้ว จำเป็น
จะต้องใช้วิธีการทดสอบเชิงสถิติของ Wald เพื่อทดสอบค่าสัมประสิทธิ์ โดยมีสมมติฐานดังต่อไปนี้
1
0
H : M in,j + = N in,j H : M in,j + N in,j (สมมติฐาน 1)
−
−
j=1 j=1 j=1 j=1
H : 0 out = out H : 1 out out (สมมติฐาน 2)
−
+
−
+
สมมติฐาน 1 เป็นการทดสอบว่าผลกระทบระยะยาวเมื่อราคาต้นทางปรับขึ้นและเมื่อราคาต้นทางปรับลง
มีความสมมาตรหรือไม่ ในขณะที่สมมติฐาน 2 เป็นการทดสอบว่าความเร็วในการปรับตัวเพื่อกลับเข้าสู่ดุลยภาพ
เมื่อราคาอยู่สูงกว่าหรือต่ำกว่าดุลยภาพระยะยาวมีความสมมาตรหรือไม่ ผลการทดสอบสมมติฐาน 1 และ 2
สามารถแยกออกได้เป็น 4 กรณี ดังนี้