Page 86 -
P. 86

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               (Golbular)  แบบแวนเดอรกรินเตน (Vander Grinten) แบบแอคเคิรต (Eckert) และแบบตารางเทากัน

               (Equirectangular)








































                                 รูปที่ 4.8 ระบบฉายภาพแบบระนาบตัดโลก (Secant Projection)

                                                 ที่มา: (Paul et al., 2005)


               4.1.5 การอางอิงในแนวราบ (Horizontal Referencing Datum) และตัวอยางระบบเสนโครงแผน

               ที่



               การอางอิงในแนวราบมี 2 ประเภทคือ การอางอิงทั่วโลก (Global Datum) และการอางอิงแบบทองถิ่น
               (Local Datum)

                              - การอางอิงแบบทั่วโลก (Global Datum) เปนการอางอิงโดยใชจุดศูนยกลางมวล

               โลกเปนจุดศูนยกลางของทรงรีของโลก กลาวคือกําหนดใหกึ่งความยาวของแกนยาวทับกับแกนการ

               หมุนของโลก เชน การอางอิงแบบเสนรุงและแวง WGS-72 WGS-84 (ซึ่งปจจุบันนิยมที่ใชในระบบ GPS)
               เปนตน

                              -  การอางอิงแบบทองถิ่น (Local Datum) เปนการอางอิงทรงรีที่อาศัยผิวทรงรีให

               แนบสนิทชิดกับผิวยีออยด  (Geoid) (ยีออยดถือวาเปนสัณฐานของโลกอยางแทจริงไดจากการวัดคา
               สนามความถวงพิภพถือวาเปนพื้นผิวศักยสมดุล (Equipotential Surface) ใหมากที่สุดโดยมีคาใกลเคียง


                                                          -77-
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91