Page 89 -
P. 89

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               4.1.5.3 ระบบเสนโครงแผนที่กรวยคงรูปแบบแลมเบิรต (Lambert Conformal Conic Projection

               based System, LCC)



               ระบบเสนโครงแผนที่กรวยคงรูปแบบแลมเบิรต (LCC)  นี้เหมาะสมกับพื้นที่ที่อยูบริเวณตอนกลาง
               ระหวางเสนศูนยสูตรและขั้วโลก (Mid latitude) เพราะระบบนี้ใชหลักการฉายภาพแบบกรวยที่มีเสนตัด

               ระหวางเสนรุงทั้งสองเสนของโลก (Secant cone) หรือบางทีอาจจะเปนกรวยที่สัมผัสตรงบริเวณเสนรุง

               เสนใดเสนหนึ่งก็ที่ตอนบริเวณเสนรุงตอนกลางดังกลาวเพียงเสนเดียวก็ได ลักษณะคลายกับรูปที่ 4.7
               ค.  ดังนั้นถาเราประยุกตใชเสนโครงแผนที่ LCC  เปนระบบอางอิงพื้นฐานนี้จะตองนําเขาคาของตัวแปร

               ตาง ๆ ดังนี้คือ คาของเสนขนานมาตรฐาน (Standard  Parallel)  หนึ่งถึงสองคา คาจุดเริ่มตนหรือจุด

               ศูนยกลางพิกัดประกอบไปดวยคาเสนแวง  ณ  ตําแหนงจุดศูนยกลางเมอริเดียน  (CM) และคาเสนรุงที่
               ตําแหนงจุดศูนยกลาง คาพิกัดเริ่มตนตะวันออก (False Easting) และอาจจะใชคาพิกัดเริ่มตนเหนือ

               (False Northing)


               4.1.5.4 ระบบพิกัดระนาบมลรัฐ (State Plane Coordinate System, SPS)

               ระบบเสนโครงแผนที่แบบนี้นิยมใชในองคกรในประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งแตละมลรัฐก็จะมีระบบเสน

               โครงแผนที่ที่แตกตางกันขึ้นอยูกับขนาดและตําแหนงของมลรัฐที่ตั้งอยูบนโลก ดวยเหตุนี้ถาแตละมลรัฐ

               ก็จะเลือกใชเสนโครงแผนที่แบบ LCC และ TM ก็ตองแตกตางกันไปเฉพาะแตละมลรัฐไปดวย ดังนี้ระบบ
               พิกัดแผนที่ในสหรัฐอเมริกาก็จะเลือกใชระบบอางอิง North American Datum of 1927 (NAD27) และ

               North American  Datum of  1983 (NAD83)  ซึ่งพัฒนาดวยระบบโครงขาย GPS  ที่มีความแมนยําสูง

               (High Precision GPS Network, HPGN) หนวยที่ใชก็เปนไปไดทั้งเมตรและฟุต


               4.1.5.5 ระบบพิกัด Gauss-Krüger   (Gauss-Krüger Grid System, GKS)


               ระบบพิกัด Gauss-Krüger  ที่ปรากฏมีอยู 2 รูปแบบคือ แบบแรกมีความแมนยําในระดับ ไมโครเมตร

               ของพื้นที่ภายในมุม 30° องศาของเสนแวง ณ  ศูนยกลางเมอริเดียนนั้น ๆ และแบบที่สองนี้มีความ

               แมนยําในระดับมิลลิเมตรซึ่งครอบคลุมพื้นที่ขนาด 3°–  6° ของเสนแวง ณ ศูนยกลางเมอริเดียนนั้น ๆ

               ซึ่งแบบนี้เปนที่นิยมใชกันอยางแพรหลาย  (Deakin et al., 2010)  ระบบเสนโครงแผนที่แบบนี้นิยมใชใน
               กลุมประเทศยุโรปและประเทศอื่น ๆ ระบบนี้อาศัยหลักการฉายภาพเปนเสนโครงแผนที่ TM และทรงรี

               Bessel (Transverse Mercator and Bessel Ellipsoid) แตละโซนกวาง 3 องศา ดังนั้นทั่วโลกจะถูกแบง

               ออกเปน 120 โซน การประยุกตใชแผนที่นี้ตองทราบตัวแปร 3 ประเภทคือ คาตัวแปรดานตําแหนง
               ศูนยกลางพิกัดประกอบไปดวยตําแหนงเสนรุงและเสนแวง มีหนวยมุมเปนองศา คาตัวแปรระยะเริ่มตน

               ประกอบไปดวยระยะเริ่มตนแนวตะวันออกและเหนือ (False Easting and Northing) มีหนวยเปนเมตร


                                                          -80-
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94