Page 90 -
P. 90
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
และคาตัวแปรดานมาตราสวน ที่ตรงตําแหนง CM คา มาตราสวนจะเทากับ 1 สวน (ถาเปนเสนโครง
แผนที่แบบ UTM คามาตราสวนจะเปน 0.9995) ตัวอยางคาตัวแปรที่ใชสําหรับ Baden-Wuerttemberg
ดังตาราง 4.2
ตารางที่ 4.2 ตัวอยางคาตัวแปรในระบบพิกัด Gauss-Krüger ที่ใชสําหรับพื้นที่ Baden-Wuerttemberg
ตัวแปร คา
Spheroid Bessel 1841
Latitude origin 0.0
Longitude origin 9° degrees E (zone 3)
False easting (m) 3,500,000
False northing (m) 0.0
Scale factor 1
เพื่อหลีกเลี่ยงคาพิกัดที่จะติดลบจึงตองมีการบวกระยะทางเริ่มตนตะวันออกอีก 500,000 เมตร
ตัวอยางเชน ตารางที่ 4.2 เปนตําแหนง CM ที่ 9 ° E คาพิกัดศูนยกลางจะมีคาเปน 3,500,000 เมตร
(False Easting) ดังนั้นคาที่อยูทางดานซายเสน CM จะเริ่มตนที่ 500,000 - 3,500,000 เมตร
4.1.6 การอางอิงในแนวดิ่ง (Vertical datum)
คาความสูงของพื้นที่ (Elevation, z บางทีเรียกวา Optometric Height, H) คือคาความสูงจากระดับ
อางอิงแนวดิ่ง (เชน อางอิงจากระดับน้ําทะเล MLS) เปนคาความสูงตามแนวแกน z ของโลก ถูกกําหนด
ดวยคาจีออยด (Geoid) ซึ่งพื้นผิวจีออยดนี้ใชหลักการวัดคาจากคาคงที่ของศักยสนามโนมถวงโลก
(Constant Gravitational Potential, การหาคา Gravity Anomaly หรือเรียกวา Geoid Undulation, N เปน
ระยะหางระหวาง Ellipsoid กับ Geoid) ดังรูปที่ 4.11 แสดงความสัมพันธระหวางพื้นผิวจีออยด ผิวทรงรี
ผิวโลก และคาความสูง ตัวอยางของคาระดับอางอิงในแนวดิ่งที่ตําแหนง p (Zp) คือสามารถหาคาระดับ
ไดจากคาของความแตกตางดานความสูงระหวางคาระดับผิวจีออยด (หรือ จากระดับน้ําทะเล, MSL)
กับความสูงจากผิวโลก สําหรับประเทศไทยการรังวัดความสูงออรโทเมตริกดวยเครื่องรับ GPS ใช
พื้นผิวยีออยดสากล เชน EGM96 และทรงรีสากลเชน WGS84
-81-