Page 87 -
P. 87

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               กับสภาพภูมิประเทศนั้น ๆ มากที่สุด เชน ประเทศไทยใชการอางอิง Indian Datum 1975 ของทรงรีเขา

               Everest (Everest Geoid)  ซึ่งใชผิวสัมผัส Geoid  ที่หมุดหลักฐานแผนที่ที่เขาสะแกกรัง จังหวัด
               ประจวบคีรีขันธ



               4.1.5.1 ระบบอางอิงพิกัดภูมิศาสตรเสนรุงและแวง (Geographic coordinate system: Latitude

               and Longitude)


               ระบบพิกัดระบบนี้เปนที่นิยมใชเปนระบบอางอิงกันทั่วโลกซึ่งถือวาเปนระบบที่ฉายภาพจากโลกที่มี

               ลักษณะเปนทรงกลม หรือเรียกวาระบบพิกัดอางอิงโลกแบบทรงกลม (Spherical Coordinate System)

               ดังที่ไดกลาวมาแลวในหัวขอที่ 4.1.3 เรื่องระบบพิกัด (Coordinate System) วาการบอกพิกัดของทุกจุด
               บนโลกจะใชคาตําแหนงของเสนรุงและเสนแวงตัดกัน (เสนรุงเรียกวาเสนขนาน สวนเสนแวงเรียกวาเสน

               เมอริเดียน  โดยเสนที่เชื่อมระหวางขั้วโลกเหนือและใตเรียกวาเสนเมอริเดียนหรือเสนแวงและเสนที่

               ขนานกันเรียกวาเสนรุงซึ่งเสนรุงที่ 0 เรียกวาเสนศูนยสูตร (Equator) คาของเสนแวงจะวัดจากเสนกรีน
               นิชไปทางขวา (ทิศตะวันออก) มีคาระหวาง 0-180 องศา และไปทางทิศตะวันตก 0-180 องศา โดย

               คาที่ 0 องศาเรียกวาเสนเมอริเดียนเริ่มตน และ ที่ 180 องศา เรียกวาเสนแบงวัน (Date Line)  สวนคา

               ของเสนรุงที่วัดขึ้นไปทางขั้วโลกเหนือจากเสนศูนยสูตรมีคา 0-90 องศา และวัดไปทางขั้วโลกใตมีคา
               0-90 องศา



               4.1.5.2 ระบบพิกัดอางอิงเมอรเคเตอรแบบขวางสากล (Universal Transverse Mercator Grid

               System, UTM)


               ระบบพิกัดระบบนี้เปนที่นิยมใชกันอยางแพรหลายใชในหลายองคกรและหนวยงาน นิยมใชในดานการ

               ทําแผนที่ภูมิประเทศ ทําแผนที่เฉพาะเรื่อง แผนที่อางอิงภาพถายจากดาวเทียมและในระบบแผนที่บน

               เครือขายอินเตอรเนต ขอสังเกตอีกประการคือระบบนี้เหมาะสําหรับพื้นที่ที่อยูบริเวณแนวเสนศูนยสูตร
               เชนประเทศไทย ระบบนี้ประยุกตใชกับพื้นที่ครอบคลุมพื้นที่ตาง ๆ ทั่วโลก (ระหวาง 84°N  ถึง 80°S)

               สวนพื้นที่ขั้วโลกประยุกตใชระบบ Universal Polar Stereographic-UPS (Robinson et al., 1995)



               ระบบ UTM  นี้อยูบนพื้นฐานการฉายภาพแบบทรงกระบอกที่มีความคงรูปดานรูปทรง ทําใหเกิดเสน
               โครงแผนที่ที่แบงเปนแถบยอย ๆ มีเสนกํากับดวยเสนเมอริเดียนสองเสนลากจากแนวขั้วโลกเหนือไปยัง

               ใต ระบบนี้แบงพื้นที่แถบออกเปน 60 พื้นที่ ซึ่งแตละพื้นที่ถูกบรรจุอยูในเสนรุงเปนระยะ 6 องศา แสดง

               ดังรูปที่ 4.9 ดังนั้นการกําหนดหมายเลขพื้นที่ก็จะมีคาตั้งแต 1-60 โดยเริ่มที่เสนรุงที่  180 °W เปนเสน



                                                          -78-
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92