Page 62 -
P. 62

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
      8     56   Theories of Marital and Family Therapy





                           Satir’s Transformational Systemic Therapy


                  Satir Transformational Systemic Therapy (STST) หรือเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายในชื่อ Satir’s

            Model หรือ Satir’s Growth Model เป็ นแนวทางการบ าบัดที่คิดค้นขึ้นโดย Virginia Satir
            นักสังคมสงเคราะห์และนักบ าบัดชาวอเมริกัน
                  แนวทางของ Satir เป็นที่นิยมในการบ าบัดคู่สมรสและครอบครัว ได้รับการยอมรับอย่าง

            กว้างขวางว่ามีประสิทธิภาพ มีรูปแบบกระชับ ใช้เวลาในการรักษาน้อยลง


                 แนวคิดที่ส าคัญ

             1.  ครอบครัวต้นก าเนิด (Family of Origin) และครอบครัว-เครือญาติรุ่นก่อน (Past generations) มี

                 อิทธิพลส าคัญต่อรูปแบบความคิดและพฤติกรรมของเรา
             2.  การบ าบัดตามแนวทาง Satir เชื่อในทฤษฏีระบบ มองว่าครอบครัวเป็นระบบ และมีการปรับตัว
                 เพื่อพยายามรักษาสมดุลภายในระบบ   การบ าบัดจะเน้นความส าคัญในการท างานร่วมกันกับ

                 ครอบครัว  และชี้ว่าความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสมาชิกคนหนึ่ง จะส่งผลต่อครอบครัวทั้ง
                 ระบบ
                       ั
             3.  เชื่อว่าปญหาด้านสุขภาพจิตและพฤติกรรม เกิดจากรูปแบบการปรับตัวที่ไม่เหมาะสม ท าให้
                 ความต้องการของสมาชิกไม่ได้รับการตอบสนอง ประสบการณ์ทางลบจากครอบครัว และการ
                 แสดงบทบาทที่ไม่เหมาะสม (negative family experiences and roles/ inappropriate roles,
                 restrictive rules and/or unrealistic expectations)




                      ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการบ าบัดตามแนวทางของ Satir


                    Transformatic change

                    การบ าบัดแบบ Satir มีจุดมุ่งหมายส าคัญคือการช่วยให้ผู้รับการบ าบัดเกิด “Transformatic

            change” ซึ่งหมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่ท าให้เป็นคนที่ต่างไปจากเดิม ท าให้เกิดการเจริญเติบโตทาง
                                        ้
            จิตใจ พัฒนาตนเอง เคลื่อนไปสู่เปาหมาย คือการเป็นคนที่เต็มศักยภาพ
                    Transformatic change จะเกิดขึ้นได้ด้วย 5 องค์ประกอบ (5 Elements of therapeutic
            process) ดังต่อไปนี้
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67