Page 63 -
P. 63

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                                                            ทฤษฏีการบ าบัดคู่สมรสและครอบครัว
                                                                                            57



            I.  Experiential
                        การช่วยให้บุคคล ตระหนักถึงประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต และผลกระทบที่เกิดขึ้นใน
                  ั
                 ปจจุบันจากประสบการณ์นั้น (experience the effect of past events in the present)
                 ขณะเดียวกันก็ตระหนักถึงพลังชีวิตของตน (Life energy) ซึ่งเป็นพลังงานทางบวก   Satir
                 อธิบายว่า กระบวนการนี้จะท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายใน (energy shift may

                 take place) ซึ่งจะน าไปสู่การเปลี่ยนแปลงภายนอกตัวบุคคลต่อไป

           II.  Systemic

                        การบ าบัดของ Satir เชื่อในทฤษฏีระบบ นั่นคือทุกอย่างด ารงอยู่อย่างเป็นระบบ และทุก
                 ส่วนในระบบมีความสัมพันธ์ต่อกัน การเปลี่ยนแปลงของส่วนใดส่วนหนึ่งในระบบจะน าไปสู่การ

                 เปลี่ยนแปลงของส่วนอื่น ๆ ในระบบด้วย

           III.  Positive directional
                        การบ าบัดของ Satir ให้ความสนใจกับการเจริญเติบโต การมีความหวัง การ
                 เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางบวก การสร้างมุมมองใหม่ ความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ในทางบวก ค้นหา
                 ความต้องการที่แท้จริง (Yearning) ซึ่งเป็นพลังงานทางบวก ตลอดจนการช่วยให้บุคคลเชื่อมโยง

                 เข้ากับพลังงานชีวิตของตนเอง
                        แนวทางของ Satir มุ่งสนใจในส่วนที่เป็นบวก ที่ความเป็นไปได้ และสิ่งดีๆที่บุคคลมีอยู่
                                                            ั
                 ไม่เน้นหรือค้นหาพยาธิสภาพ และไม่เน้นการแก้ไขปญญา (นงพงา ลิ้มสุวรรณ, 2555)

           IV.  Change-oriented   (or Change focused)
                                                                            ้
                 การบ าบัดใช้การตั้งค าถาม เพื่อมุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวบุคคล เปาหมายเพื่อให้บุคคลไป
                 ถึง “Transformational change”

           V.  Congruence
                        หมายถึง ความสมดุล การมีความสอดคล้องกลมกลืนในตนเอง เป็นสภาวะในช่วง

                 เวลาหนึ่ง ๆ เมื่อบุคคลมีความรู้ตัว-ตระหนักรู้ในตนเอง (Awareness) การยอมรับ ไม่ขัดแย้ง
                 ภายในตนเอง การรู้สึกเต็มภายใน (State of wholeness)

                        Congruence ในทฤษฏีการบ าบัดของ Satir ยังหมายถึง การมีความสอดคล้องกลมกลืน
                 ระหว่างมิติทั้ง 3 ภายในตัวตนของบุคคล (Congruence is the harmonious interaction of the
                 three dimensions within a person) (Satir, V., Banmen, J., Gerber, J., & Gomori, M., 1991
                 อ้างถึงใน Koca, 2017) มิติทั้ง 3 นี้ ได้แก่ (1) Interpersonal Dimension (2) Intrapsychic

                 Dimension และ (3) Universal-spiritual Dimention


 [Type text]
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68