Page 37 -
P. 37

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                                                            ทฤษฏีการบ าบัดคู่สมรสและครอบครัว
                                                                                            31



            4.  ครอบครัวมีกำรสื่อสำร ทั้งระหว่ำงระบบย่อยภำยในครอบครัวเอง และกับระบบภำยนอกกำร
                 สื่อสำรตำมทฤษฏีระบบ หมำยถึง กำรแลกเปลี่ยนข้อมูลขององค์ประกอบในระบบ ทั้งกำรสื่อสำร

                 โดยใช้ภำษำ (Verbal) และกำรสื่อสำรโดยไม่ใช้ภำษำ (Nonverbal เช่น ภำษำท่ำทำง น ้ำเสียง สี
                 หน้ำ) รวมถึงกำรสื่ออำรมณ์ (emotional communication) ซึ่งกำรสื่อสำรอำจแบ่งได้เป็น

                         กำรสื่อสำรเป็นไปในทิศทำงเดียวกันและสอดคล้องกัน (Congruent

                           Communication)  หรือขัดแย้ง ไม่สอดคล้องกัน (Incongruent Communication)
                         ในกำรบ ำบัด ผู้บ ำบัดจะท ำให้เกิดกำรสื่อสำร หรือพูดคุยเกี่ยวกับกระบวนกำรในกำร

                           สื่อสำร   (Metacommunication)
                           ซึ่งหำกมีกำรพูดคุยกันได้ ก็จะช่วยควบคุมระบบให้สำมำรถจัดกำรกับควำมขัดแย้งที่
                           เกิดขึ้นได้ เช่น มีกำรพูดคุยหำรือกันว่ำ จะพูดคุยกันอย่ำงไรเพื่อลดควำมขัดแย้ง

                           ระหว่ำงสำมี-ภรรยำ  พ่อแม่และลูก ในลักษณะที่ยอมรับควำมเห็นที่แตกต่ำง (Agree
                           to Disagree)

            5.  ครอบครัวมีกฎ หมำยถึง วิถีปฏิบัติที่เป็นรูปแบบแน่นอน ตั้งขึ้นเพื่อควบคุมพฤติกรรม และ
                 ปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงสมำชิกในครอบครัวให้อยู่ในขอบเขตหนึ่ง  เป็นสิ่งที่สมำชิกต้องถือปฏิบัติ

                 ตำมเพื่อรักษำสมดุลไว้   กฎในครอบครัวส่วนใหญ่มักไม่มีกำรพูดคุยตกลงกันอย่ำงชัดเจน
                                                                                         ั
                 แต่เป็นกฎที่เข้ำใจและยอมรับกันโดยปริยำยภำยในครอบครัว เช่น มีกฎว่ำลูกต้องเชื่อฟงพ่อแม่
                 เป็นต้น  แม้แต่ในครอบครัวที่ควำมสัมพันธ์ยุ่งเหยิง ก็มีกฎและวิถีปฏิบัติที่เป็นลักษณะเฉพำะ

                 ในครอบครัวที่ปรับตัวได้ดี กฎจะมีควำมยืดหยุ่นและปรับเปลี่ยนไปตำมวงจรชีวิตของครอบครัว

            6.  ครอบครัวมีขอบเขต ทั้งระหว่ำงบุคคลในครอบครัวกันเองและระหว่ำงครอบครัวกับระบบ
                 ภำยนอกอื่นๆ   ขอบเขตสำมำรถเปลี่ยนแปลงได้ และขอบเขตบำงอย่ำงอำจไม่ชัดเจน
                 ตัวอย่ำงเช่น เรำอำจวัดขอบเขตของครอบครัวได้จำกควำมสัมพันธ์ทำงสำยเลือด แต่ไม่ใช่ทุก

                 ครอบครัวที่สำมำรถแบ่งขอบเขตด้วยวิธีนี้ได้ และมักพบรูปแบบควำมสัมพันธ์ (Relationship
                 style) ที่ส ำคัญระหว่ำงบุคคลและระหว่ำงสมำชิกในครอบครัวตำมทฤษฏีระบบ ดังนี้

                          Complementary

                            ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสองบุคคล ควำมสัมพันธ์รูปแบบนี้เกิดจำกกำรที่คนสองคน
                            ปรับตัวเพื่อให้อยู่ด้วยกันได้อย่ำงลงตัว

                          Symmetrical
                            ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงคนสองคน มีลักษณะควำมสัมพันธ์แบบแข่งขัน มีกำร
                                              ่
                            พยำยำมเอำชนะอีกฝำยหนึ่ง ควำมสัมพันธ์รูปแบบนี้มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นตำม
                            ระยะเวลำท ำให้กำรแข่งขันนั้นรุนแรงขึ้น


 [Type text]
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42