Page 35 -
P. 35
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทฤษฏีการบ าบัดคู่สมรสและครอบครัว
29
แผนภาพความสัมพันธ์เชิงระบบ ระหว่างบุคคล-ครอบครัว-ชุมชน ในบริบทของสังคม
ที่มา : อรพิน สถิรมน , 2563 พัฒนาจาก Winek, 2010
กำรสื่อสำรของคู่สมรสและสมำชิกในครอบครัว กำรตั้งค ำถำมที่ส ำคัญ คือ “อย่ำงไร” โดยค ำถำมจะ
่
ชี้ให้เห็นมุมมองว่ำ ทั้งสองฝำยมีส่วนท ำให้เกิดกำรโต้เถียงกันอย่ำงไร เกิดเป็นวงจรของพฤติกรรม
่
อย่ำงไร และทั้งสองฝำยจะมีส่วนร่วมในกำรเปลี่ยนแปลงตนเองเพื่อไม่ให้เกิดกำรโต้เถียงกันได้
อย่ำงไร
แนวคิดที่ส ำคัญของทฤษฏีระบบ คือ Cybernetics
แนวคิดของ Cybernetics พัฒนำโดย Norbert Wiener นักคณิตศำสตร์จำกมหำวิทยำลัย MIT
ในช่วงสงครำมโลกครั้งที่ 2 ซึ่งท ำกำรศึกษำเกี่ยวกับกลไกของปืน ในเวลำต่อมำได้มีผู้น ำแนวคิดของ
เขำมำใช้อย่ำงแพร่หลำย ทั้งในด้ำนคณิตศำสตร์ คอมพิวเตอร์ วิศวกรรมศำสตร์ กำรบริหำร สังคม
วิทยำ ชีววิทยำ และด้ำนจิตวิทยำ
Cybernetics อธิบำยว่ำ ระบบจะพยำยำมรักษำสภำวะภำยในให้คงที่ ให้ระบบมีภำวะสมดุล
(Homeostasis) ซึ่งเกิดขึ้นได้โดย 2 กลไกที่ส ำคัญ ได้แก่ กลไกกำรปรับตัวโดยอัตโนมัติ (automatic
self-regulatory mechanism) และกลไกกำรให้ข้อมูลย้อนกลับ (Self-corrective feedback)
[Type text]