Page 30 -
P. 30

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                 Theories of Marital and Family Therapy
            24



            การรวบรวมข้อมูล

                     การรวบรวมข้อมูลของผู้รับการบ าบัด อาจแตกต่างกันไปตามแนวปฏิบัติของหน่วยงาน
            และแนวทางการบ าบัดที่ผู้บ าบัดยึดถือ   สถานบริการบางแห่งอาจมีนโยบายขอให้ผู้รับการบ าบัด
                                             ั
            กรอกข้อมูลส่วนบุคคล รายละเอียดปญหา และท าแบบคัดกรองหรือแบบสอบถาม ก่อนที่จะพบ
            ผู้บ าบัด และมีหรือไม่มีเจ้าหน้าที่ท าหน้าที่คัดกรองเบื้องต้นก่อนเข้าพบนักวิชาชีพ   สถานบริการ

            บางแห่ง กระบวนการเก็บข้อมูลจะเริ่มต้นในครั้งแรกเมื่อผู้บ าบัดพบกับผู้รับการบ าบัด   ผู้บ าบัดจึง
            ต้องใช้วิจารณญาณในทางวิชาชีพว่ามีความเหมาะสมที่จะด าเนินการอย่างไรให้เกิดความสมดุล

            ระหว่างการสร้างสัมพันธภาพในเชิงการรักษา (Establishing rapport/Therapeutic relationship) และ
            การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู้รับการบ าบัด รวมถึงการพิจารณาว่าข้อมูลใดไม่มีความจ าเป็นต่อการ

                      ั
            วิเคราะห์ปญหาและวางแผนการบ าบัด เพื่อเป็นการบริหารเวลาและให้การบ าบัดเกิดประสิทธิผล
            สูงสุด


                       โดยทั่วไป การรวบรวมข้อมูลมักอยู่ในประเด็นต่อไปนี้


                     ั
                1.  ปญหาที่ท าให้คู่สมรสมาขอรับการปรึกษา
                                                                   ั
                                                      ั
                                   ั
                       a.  ประเด็นปญหา ระยะเวลาที่เกิดปญหา สาเหตุที่ปญหายังคงอยู่
                                                      ั
                                              ่
                       b.  มุมมองที่คู่สมรสแต่ละฝายมีต่อปญหา
                                                 ั
                       c.  คู่สมรสเคยพยายามแก้ไขปญหาด้วยวิธีใดมาก่อน
                             ้
                       d.  เปาหมาย หรือความมุ่งหวังในการเข้ารับการปรึกษา
                2.  ข้อมูลส่วนบุคคล
                       a.  ประวัติตั้งแต่วัยเด็ก

                       b.  บุคลิกภาพและการปรับตัว
                                    ่
                       c.  ความเจ็บปวยทางกาย โรคประจ าตัว ซึ่งอาจมีผลต่อสภาพจิตใจและความสัมพันธ์
                       d.  โรคทางจิตเวช และประวัติการเข้ารับการบ าบัดรักษาในอดีต

                3.  ความสัมพันธ์ของคู่สมรส

                            Howard Markman, Scott Stanley และ Susan Blumberg (2010) ได้ใช้ค าถาม
                    ต่อไปนี้ในงานวิจัย เพื่อประเมินความสัมพันธ์ของคู่สมรส ในเรื่องความขัดแย้งและการ
                    สื่อสารระหว่างคู่สมรส ซึ่งพบว่าหากคู่สมรสตอบว่าเป็นจริงจะเป็นตัวท านายความทุกข์ใน

                    ชีวิตสมรสและการหย่าร้าง
                       1)  การพูดคุยตามปกติของคู่สมรสมักจะกลายเป็นการโต้เถียงอย่างรุนแรง
                                                               ั
                       2)  คู่สมรสหลีกเลี่ยง หรือปฏิเสธที่จะพูดคุยถึงปญหาส าคัญ
                                                                   ่
                                                     ่
                       3)  คู่สมรสไม่ใส่ใจต่อค าพูดของอีกฝาย หรือดูถูกอีกฝาย
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35