Page 36 -
P. 36

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                 Theories of Marital and Family Therapy
            30



                  ลักษณะกำรท ำงำนของระบบนั้นเป็นวงจร โดยเมื่อมีข้อมูลเข้ำสู่ระบบ ท ำให้สมดุลในระบบเสีย
            ไป จะท ำให้กลไกกำรปรับตัวอัตโนมัติเริ่มท ำงำน โดยจะน ำข้อมูลเดิมที่มีในระบบมำใช้เพื่อประมวลผล
                                                                         ้
            สิ่งที่เข้ำมำในระบบ และด ำเนินกำรตอบสนอง  ข้อมูลกำรท ำงำนนี้จะถูกปอนกลับเข้ำสู่ระบบ เพื่อท ำ
            กำรประมวลผล และบันทึกไว้ใช้ในอนำคต

                  ตัวอย่ำงระบบ Cybernetic ในด้ำนชีววิทยำที่เห็นได้ชัดเจน คือ กลไกกำรรักษำสมดุลของ
            สิ่งมีชีวิต เช่น กลไกควบคุมสมดุลของน ้ำและเกลือแร่ในร่ำงกำย กลไกควบคุมควำมเป็นกรด-ด่ำงใน

            เลือด เป็นต้น

                  ในด้ำนจิตวิทยำ ผู้น ำแนวคิด Cybernetic มำกล่ำวถึงเป็นคนแรก เพื่ออธิบำยกำรสื่อสำรใน
            ครอบครัว คือ Gregory Bateson นักมำนุษยวิทยำ   ซึ่งศึกษำวิจัยเรื่องกำรสื่อสำรภำยในครอบครัว
                                          ่
                  ่
            ของผู้ปวยโรคจิตเภท โดยพบว่ำ ผู้ปวยจิตเภทมักได้รับกำรสื่อสำรในลักษณะ สองนัยยะที่ขัดแย้งกัน
            (Double-Bind Messages)

                  ครอบครัวบ ำบัดตำมทฤษฏีระบบ มีมุมมองว่ำ ครอบครัวก็มีลักษณะเป็นระบบ และมี
                                                              ั
            คุณลักษณะเช่นเดียวกันระบบอื่นๆ  กำรที่จะศึกษำ และแก้ปญหำให้แก่ครอบครัว จึงไม่สำมำรถท ำได้
            โดยให้กำรบ ำบัดเฉพำะบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แต่ต้องท ำควำมเข้ำใจรูปแบบปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงระหว่ำง
            สมำชิกภำยในครอบครัว และท ำงำนร่วมกับครอบครัวทั้งหมด



                  คุณสมบัติของระบบครอบครัว

                  อุมำพร ตรังคสมบัติ (2541, หน้ำ 16-17) ได้ชี้ว่ำ ครอบครัวมีคุณสมบัติเป็นไปตำมแนวคิดที่

            Salvador Minushin ได้เสนอไว้ในปี 1974 ดังนี้

            1.  ครอบครัวเป็นระบบเปิดทำงสังคมและวัฒนธรรม (open socio – cultural system) ตำมมุมมอง
                 ของทฤษฏีระบบ ครอบครัวเป็นระบบย่อยที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบที่ใหญ่ขึ้นไป นั่นคือ ระบบ

                 สังคม ระบบครอบครัวจะได้รับแรงกระทบจำกระบบภำยนอก มีปฏิสัมพันธ์กับหน่วยย่อยอื่น ๆ
                 ในระบบตลอดเวลำ   ระบบครอบครัวที่ดี จะมีกำรแลกเปลี่ยนข้อมูลข่ำวสำรและติดต่อสื่อสำรกับ
                 ระบบภำยนอกอยู่เสมอ

            2.  ครอบครัวมีกำรเปลี่ยนแปลง (transformation) ตลอดเวลำ และจะมีกำรพัฒนำไปอย่ำงต่อเนื่อง

                 ผ่ำนจำกวงจรชีวิตตอนหนึ่งไปยังอีกตอนหนึ่ง เช่น จำกครอบครัวที่เพิ่งแต่งงำน ไปสู่ครอบครัวที่
                 มีลูกเล็ก

            3.  ครอบครัวมีกำรจัดระบบภำยใน เพื่อให้ครอบครัวสำมำรถด ำรงอยู่ได้อย่ำงสมดุล และมีควำม
                 ต่อเนื่อง (continuity)   แต่ภำวะสมดุลที่ครอบครัวพยำยำมรักษำไว้นี้อำจไม่ใช่สิ่งที่เหมำะสม
                              ั
                 แต่เป็นสิ่งที่ก่อปญหำ หรือเป็นพยำธิสภำพก็ได้
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41