Page 31 -
P. 31

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                           28



                            ปจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค

                                -  มีเหตุการณรายแรงเกิดขึ้น

                                -  เกิดอาการ panic ในสถานการณซึ่งทําใหกลัว

                                -  พบเห็นผูอื่นไดรับอันตรายหรือแสดงความกลัว เชน เห็นคนตกลงมาจากที่สูง
                                -  รูจากขอมูลขาวสาร เชน ขาวเครื่องบินตกในหนาหนังสือพิมพ



                            การวินิจฉัย
                            1.  มีความกลัวรุนแรงและคงอยูตลอด รวมทั้งมีมากเกินควรหรือ ไมมีเหตุผลเมื่อทร าบหรือ

                                คาดวาจะตองเผชิญกับบางสิ่ง หรือบางสถานการณ

                            2.  การเผชิญกับสิ่งที่กลัวนั้นกอใหเกิดความวิตกกังวลขึ้นอยางกระทันหันแทบทุกรายซึ่งอาจ

                                เปน Panic attack ชนิดที่เกิดขึ้นทุกครั้งที่เผชิญสิ่งที่กลัว หรือชนิดมีแนวโนมที่จะเกิดเมื่อ
                                เผชิญกับสิ่งที่กลัว

                            3.  บุคคลนั้นตระหนักดีวาความกลัวนั้นมีมากเกินควรหรือไมมีเหตุผล(ในเด็กอาจไมพบลักษณะ

                                นี้)

                            4.  มีการหลีกเลี่ยงสถานการณที่ทําใหกลัว หรือไมตองทนเผชิญ โดยมีความวิตกกังวลหรือ
                                ความทุกขใจอยางมาก

                            5.  การหลีกเลี่ยง การวิตกกังวลวาเผชิญกับสิ่งที่กลัว หรือความทุกขใจ มีผลกระทบตอการ

                                ดํารงชีวิตประจําวัน การทํางาน  (หรือการเรียน) การพบปะผูอื่น สัมพันธภาพกับผูอื่นของ

                                บุคคลนั้นอยางเห็นชัด หรือมีความทุกขทรมานอยางมากตอการที่ตนมีอาการ Phobia

                            6.  ในผูที่มีอายุต่ํากวา18 ป ตองมีอาการนานอยางนอย 6 เดือน
                            7.  อาการวิตกกังวล Panic attack หรือการหลีกเลี่ยงสถานการณ หรือสิ่งที่ทําใหกลัว และไม

                                เขาเกณฑการวินิจฉัยกลุมอาการทางจิตเวชอื่น

                            2.  Social Phobia
                            ลักษณะทางคลินิก

                            ผูปวยมีอาการหวั่นกลัว พยายามหลีกเลี่ยงสถานการณที่อาจถูกสังเกต หรือจับตามองจาก

                        ผูอื่น เกรงวาตัวเองจะมีทาทางหรือการกระทํา ที่ผูอื่นเห็นวา นาขบขัน นารังเกียจ หรือนาอับอาย
                        ผูปวยอาจกังวลเฉพาะสถานการณ หรือแทบทุกสถานการณ รูสึกวิตกกังวลอยางมากหากตอง

                        เผชิญกับสถานการณนั้น  มักมีอาการทางกายรวมดวย เชน ใจหวิวๆ หายใจขัด เหงื่อออก มือสั่น

                        ทองไสปนปวน มือเทาเย็น เปนตน   มักเริ่มเปนในวัยรุน บางรายมีอาการตั้งแตวัยเด็ก อาการอาจ

                        เกิดทันทีภายหลังประสบเหตุการณที่ทําใหเกิดความละอายใจหรือคอยๆเปน โรคนี้มักเปนอยาง

                        ตอเนื่องและเปนตลอดชีวิต แมวาอาการอาจนอยลงหรือหายไปในวัยผูใหญได ความรุนแรงของ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36