Page 34 -
P. 34
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
31
- บุคคลนั้นพยายามไมสนใจ และระงับความคิด แรงผลักดัน หรือจินตนาการนั้นๆ
หรือพยายามลดสิ่งเหลานั้นโดยใชความคิด หรือการกระทําอื่น
- บุคคลนั้นทราบวา ความคิด แรงผลักดัน หรือจินตนาการที่ย้ําคิดอยูนั้นเปนผลจาก
จิตใจของตน
การย้ําทํา
- พฤติกรรมซ้ําๆ เชน การลางมือ การจัดขาวของ การตรวจตรา หรือการกระทําทาง
จิตใจ เชน การสวดมนต การนับ การพูดคําซ้ําๆซากๆ โดยบุคคลนั้นรูสึกเหมือนถูก
ผลักดันใหกระทําเพื่อตอบสนองตอการย้ําคิด หรือเปนการทําตามกฎเกณฑที่เขมงวด
- พฤติกรรมหรือการกระทําทางจิตใจมีวัตถุประสงคเพื่อปองกัน หรือลดความรูสึกทุกข
ทรมานใจ หรือการปองกันเหตุการณ หรือสถานการ ณรายไมใหเกิดขึ้น อยางไรก็ตาม
พฤติกรรม หรือการกระทําเหลานี้กับวิธีการลดความรูสึกไมสบายใจ หรือวิธีการ
ปองกัน ที่แทจริงไมสามารถเชื่อมโยงกันไดในแงของความเปนจริงหรือมีการกระทํา
มากเกินไปอยางชัดเจน
2. บางขณะของอาการปวย บุคคลนั้นรูวาการย้ําคิดหรื อการย้ําทําเปนสิ่งที่มากเกินหรือไมมี
เหตุผล
3. การย้ําคิดหรือการย้ําทําที่เกิดขึ้นเปนเหตุใหเกิดความรูสึกทุกขทรมานใจอยางยิ่ง , การ
เสียเวลาหรือรบกวนกิจวัตรประจําวัน , การเสื่อมเสียหนาที่ดานอาชีพ , ดานกิจกรรมทาง
สังคม หรือดานสัมพันธภาพอยางมีนัยสําคัญ
4. ถาบุคคลนั้นมีโรคในแกนที่ 1 (Axis I) รวมดวย เนื้อหาของการย้ําคิดหรือการย้ําทํา ตองไม
จํากัดอยูเพียงอาการของโรคนั้นๆ
5. ความผิดปกติที่เกิดขึ้นไมไดเปนผลโดยตรงทางสรีระวิทยาของสารอยางใดอยางหนึ่งหรือ
ภาวะความเจ็บปวยทางกาย
Acute and Post-traumatic Stress Disorders (ASD/PTSD)
เปนโรควิตกกังวลที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่ผูปวยเผชิญกับเหตุการณที่รุนแรง เชน ภาวะ
สงคราม อุทกภัย วินาศภัย ตึกถลม ถูกขมขืน หรือทํารายรางกาย หรืออุบัติเหตุรายแรง
อาการที่เกิดหลังจากเหตุการณรายแรงที่เกิดกับผูปวยหรือบุคคลใกลชิด เชน อาการหวา ดกลัว
อยางรุนแรง รูสึกหวาดกลัวหรือสิ้นหวัง คิดและฝนซ้ําๆ มีปญหาเกี่ยวกับการนอน อารมณหงุดหงิด
แปรปรวน ตื่นเตน ตกใจงาย สมาธิและความจําแยลง