Page 19 -
P. 19

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                           16



                     2. การชวยเหลือดานจิตสังคม
                           2.1     การชวยเหลือผูปวยทางจิตใจ ชวยใหคําแนะนําในการหาวิธีแกปญหาในแบบที่เขาพอ

                     ทําได ชวยคนหาดูวาความเครียดหรือความกดดันอะไรที่เขามักทนไมได

                           2.2     การใหคําแนะนําแกครอบครัวใหความรูเรื่องโรค โดยทั่วไปครอบครัวมักรูสึกผิดและ

                     กลาวโทษตนเอง


                     3. การรักษาดวยไฟฟา (Electroconvulsive therapy : ECT)

                            โดยทั่วไปจะใชในกรณีที่ผูปวยไมตอบสนองตอการรักษาดวยยา จึงตองใช  ECT รวมดวยหรือ
                     อาจใชในกรณีผูปวยที่มีอาการ catatonic หรือมี severe depression รวมดวย



                     สาเหตุ
                            1.  Biological Factor(ปจจัยทางชีวภาพ)

                            1.1    Genetic Factor (พันธุกรรม)

                            การศึกษาประวัติการเปนโรคของคนในครอบครัว จะพบวาในแฝดแท  (แฝดที่เกิดจาก zygote
                     เดียวกัน)  หากคนหนึ่งมีอาการของ schizophrenia  แฝดอีกคนก็จะมีโอกาสสูงที่จะมีอาการของโรคนี้

                     ดวย สวนในแฝดเทียมโอกาสดังกลาวจะนอยกวา

                            มีการศึกษาวาการเลี้ยงดูและพันธุกรรมอยางไรจะมีผลทําใหเด็กมีการพัฒนาอาการของโรคนี้

                     มากกวากันในครอบครัวบุญธรรม(Adoption) ผลที่ไดคือ ในเด็กที่มีพันธุกรรมของโรคนี้จะมีโอกาสพัฒนา
                     อาการของโรคสูงกวาเด็กกลุมอื่น แมวาจะอยูในครอบครัวที่มีความผิดปกติของโรคนี้หรือไมก็ตาม

                            1.2    Prenatal Factor  มีการศึกษาวาชวงเวลาในการตั้งครรภอาจมีผลตอการที่เด็กจะมี

                     ความผิดปกติ เชน ทารกที่เกิดในชวง ม .ค. – มี.ค. จะมีความเสี่ยงสูง เด็กที่เกิดชวง  winter, spring มี

                     โอกาสเสี่ยงสูงกวาชวง summer, fall  อาจเปนเพราะวา ในชวงดังกลาวเปนชวงที่มีโรคไขหวัดระบาด
                     มากกวาชวงอื่นๆ นอกจากนี้ระบบภูมิคุมกันก็มีสวนดวย

                            1.3    Brain Structure มีผูปวยจํานวนหนึ่งที่มีความผิดปกติทางสมอง เชน มี ventricle

                     (โพรงในสมอง) โตกวาปกติ อาจมีสาเหตุมาจากการไดรับบาดเจ็บทางสมอง , alcoholism เปนตน

                            1.4    Biochemical Brain Abnormalities  เชน ในผูปวยที่มีอาการของโรคนี้มาเปน

                     เวลานานและเรื้อรัง เมื่อนํามาทําการตรวจสมองดวยวิธี  PT scans จะพบวามีอัตราของ metabolism
                     บริเวณ frontal และ temporal lobes ต่ํากวาปกติ

                            1.5    The Dopamine Hypothesis  โดยมีความเชื่อกันวามีการหลั่งของ  dopamine  ใน

                     สมองมากผิดปกติ ยังพบอีกวายารักษาโรคจิตนั้นออกฤทธิ์โดยการปดกั้น   (blocking) dopamine

                     receptor ที่บริเวณ post-synaptic receptor
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24