Page 16 -
P. 16

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                           13



                         บทที่ 3                                            โรคจิตเภทและโรคจิตอื่นๆ

                                                    (Schizophrenia and Other Psychotic Disorders)




                     โรคจิตเภท (Schizophrenia)
                            ในประเทศสหรัฐอเมริกา 14 ใน 1000 คน ถูกวินิจฉัยวาเปนโรคจิตเภทและมีประมาณการวา

                     20 ลานคน มีอาการของโรคนี้  ผูที่ถูกวินิจฉัยวาเปนโรคนี้  1 ใน 4 ราย พยายามฆาตัวตายสูง และ 1 ใน

                     10 รายมักจะประสบความสําเร็จในการฆาตัวตาย สวนใหญนั้นผูปวยที่ฆาตัวตายจะเปนกลุมคนที่ ไม

                     แตงงาน วางงาน อยูคนเดียว รูสึกหมดหวัง และเคยมีประวัติที่คิดฆาตัวตายมากอน   ซึ่งในแตละคนก็

                     จะมีสาเหตุที่ตางกันออกไป (Sarason & Sarason, 1999)
                            โรคจิตเภทไดรับความสนใจในวงการจิตเวชมานานแลวโดย  Emil Kraepelin (1856 – 1926)

                     เปนคนแรก ซึ่งจําแนกและเรียกโรคนี้วา  “Dementia Praecox” (premature madness) เพราะเปนโรค

                     ที่มักปรากฎอาการชวงวัยรุน และเชื่อวาสาเหตุของโรคนี้มาจาก การเสื่อมของอวัยวะโดยเฉพาะสมอง
                     Kraepelin แบงจิตเภทออกเปน 3 กลุมอาการ คือ Paranoid, Catatonic และ Hebephrenic

                            ตอมา Eugen Bleuler (1857 – 1939) ไดบัญญัติศัพท  “Schizophrenia” ใชเรียกแทนชื่อเดิม

                     โดยเชื่อวาไมมีสาเหตุที่แนนอนที่ทําใหเกิดโรคนี้ และเนนที่ปจจัยดานจิตวิทยาและสิ่งแวดลอม และได

                     เพิ่มกลุมอาการอีก 1 กลุม คือ Simple Schizophrenia และใหเกณฑการวินิจฉัย Schizophrenia เปน

                     4 A คือ Alterations in affect (mood), association, ambivalence, autism
                            Kurt Schneider (1887 – 1967) เปนผูเสนอเกณฑในการวินิจฉัย Schizophrenia โดยดูจาก

                            -  First-rank symptoms หมายถึงการมี hallucination (auditory) และ Delusion (though)

                            -  Second-rank symptoms เปนอาการอื่นๆนอกเหนือจาก  First-rank symptoms ซึ่งอาจ

                                พบไดในกลุมอาการโรคจิตอื่นๆ

                            หากผูปวยมีอาการหลงผิดและประสาทหลอน โดยไมมีสาเหตุทาง   organic  จะสามารถ
                     วินิจฉัยวาเปนอาการของจิตเภท ซึ่งในปจจุบัน   First-rank symptoms  ถูกเรียกเปน  Positive

                     Symptom

                            ในปจจุบันโรคจิตเภทสามารถจําแนกตาม DSM-IV ไดเปน 5 กลุม ดังนี้
                     1.  Paranoid type

                        -  มีอาการ delusion และ hallucination ไมพบอาการของ catatonic type หรือ disorganized type

                        -  สาเหตุอาจมาจากความเจ็บปวย ผลขางเคียงของยา การไดรับความกระทบกระเทือนทางสมอง

                           ประสบการณรุนแรงเกี่ยวกับความเครียด
                        -  สวนมากผูปวยที่เขารับการรักษาจะพบวามีอาการนี้
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21