Page 133 -
P. 133

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



               Table 25 Economic return analysis of potassium fertilizer application for cassava in rainy season
               2017/2018
               Fertilizer applied   Grain yield   Increase Yieid   Gross returns  Expenditure on fertilizer  VCR

               (kg N-P 2O 5-K 2O/rai)   (kg/rai)      (%)          (Bath/rai)           (Bath/rai)
               Kasetsart 50
               8-8-0                  3,533
               8-8-4                  4,033          12.4             950                 700             1.4
               8-8-8                  4,271          17.3            1,402                814             1.7
               8-8-12                 4,512          21.7            1,860                947             2.0
               8-8-16                 4,138          14.6            1,150               1,080            1.1
               Rayong11
               8-8-0                  3,638
               8-8-4                  4,148          12.3             969                 700             1.4
               8-8-8                  4,014           9.4             714                 814             0.9
               8-8-12                 4,095          11.2             868                 947             0.9
               8-8-16                 3,910           7.0             517                1,080            0.5

               Remark : Value Cost Ratio (VCR) = Gross return/Cost of fertilizer
               Fertilizer price: 46-0-0 (16 baht/kg K) 18-46-0 (23 baht/kg N-P 2O 5) and 0-0-60 (19 baht/kg K 2O)
               Yield price: 1.9 baht/kg
                                             สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
                       1. มันสำปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 ตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนที่อัตรา 12 กิโลกรัม N ต่อไร่ โดยให้
               ผลผลิตหัวสดเฉลี่ย 3,848 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนพันธุ์ระยอง 11 ตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนที่อัตรา 16 กิโลกรัม N ต่อ

               ไร่ และให้ผลผลิตหัวสดเฉลี่ย 3,942 กิโลกรัมต่อไร่ แต่จากการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของมันสำปะหลังทั้ง 2
               พันธุ์ การใช้ไนโตรเจนที่อัตรา 4 กิโลกรัม N ต่อไร่ มีความคุ้มค่าต่อการลงทุนมากที่สุด
                       2. มันสำปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 ตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยโพแทชที่อัตรา 12 กิโลกรัม N ต่อไร่ โดยให้
               ผลผลิตหัวสดเฉลี่ย 4,512 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนพันธุ์ระยอง 11 ตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยโพแทชที่อัตรา 4 กิโลกรัม N ต่อไร่
               และให้ผลผลิตหัวสดเฉลี่ย 4,148 กิโลกรัมต่อไร่ แต่จากการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของมันสำปะหลังพันธุ์
               เกษตรศาสตร์ 50 การใช้โพแทสเซียมที่อัตรา 12 กิโลกรัม N ต่อไร่ มีความคุ้มค่าต่อการลงทุนมากที่สุด

                                              การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
                       สามารถใช้เป็นคำแนะนำในการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนและปุ๋ยโพแทชเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตมันสำปะหลังอย่าง
               เหมาะสมเฉพาะพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และให้ผลตอบแทนคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ










                                                          125
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138