Page 124 -
P. 124
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
Table 11 Total nutrients content (kg/rai) in cassava in Wang Hai soil series at Nakhon Sawan Province
(rainy season 2017/2018)
Total Nutrients content
Nitrogen (B) N Av. P2O5 Av. K2O Av.
(kg N/rai) KU50 RY11 (B) KU50 RY11 (B) KU50 RY11 (B)
24.95
0 24.07 25.83 b 4.73 3.59 4.16 22.47 23.30 22.89
4 31.61 29.46 30.54 a 4.31 3.87 4.09 23.87 22.58 23.23
8 27.15 31.14 29.15 a 4.68 3.94 4.31 19.80 26.05 22.93
12 35.20 31.38 33.29 a 5.07 3.66 4.37 24.74 23.72 24.23
16 42.40 31.94 37.17 a 4.98 3.44 4.21 27.41 23.13 25.27
Av. (A) 32.09 29.95 31.02 4.76 3.70 4.23 23.66 23.76 23.71
F-test (A) ns ns ns
F-test (B) * ns ns
F-test (AxB) ns ns ns
CV (A) (%) 16.3 24.5 12.4
CV (B) (%) 14.7 20.1 17.5
Remark : KU = Kasetsart 50, RY11 = Rayong 11
Means in a column followed by the same letter are not significantly different at 5% level by DMRT,
* : Significant at 5% level, ns : Not significant
1.5 ประสิทธิภาพการใช้ธาตุไนโตรเจนของมันสำปะหลัง
การประเมินประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนในปุ๋ย สามารถประเมินได้จาก ประสิทธิภาพการสร้างผลผลิต
(agronomic efficiency) หรือประสิทธิภาพผลผลิต (yield efficiency) ประสิทธิภาพการดูดใช้ธาตุอาหารจากปุ๋ย
(apparent recovery efficiency) และ ประสิทธิภาพการสร้างผลผลิตเชิงสรีระ (agrophysiological efficiency)
(Fageria et al.,1997) พบว่า มันสำปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 มีประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนเพื่อสร้างผลผลิต
สูงสุด 183.5 กิโลกรัมผลผลิตต่อกิโลกรัม N เมื่อใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในอัตรา 4 กิโลกรัม N ต่อไร่ และประสิทธิภาพการใช้
ไนโตรเจนจะลดลงเมื่อใส่ปุ๋ยไนโตรเจนเพิ่มขึ้น (Table 12)
ส่วนมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 11 มีประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนเพื่อสร้างผลผลิตสูงสุด 156.0
กิโลกรัมผลผลิตต่อกิโลกรัม N เมื่อใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในอัตรา 4 kg N ต่อไร่ เช่นเดียวกับพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 แต่
ประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนเพื่อสร้างผลผลิตต่ำ 29.0 กิโลกรัมผลผลิตต่อกิโลกรัม N เมื่อใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในอัตรา 12
kg N ต่อไร่ (Table 12) ซึ่งจะเห็นได้ว่ามันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 11 มีประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนต่ำกว่าพันธุ์
เกษตรศาสตร์ 50
116