Page 125 -
P. 125
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
Table 12 Nitrogen use efficiency (NUE) for cassava in Wang Hai soil series at Nakhon Sawan Province
Applied N Yield N uptake* AUE* APUE* ARE*
(kg N/rai) (kg/rai) (kg/rai) (kg/rai) (kg/rai) (%)
Kasetsart 50
0 3,095 4.0 - - -
4 3,829 4.3 183.5 3,058 6.0
8 3,657 4.2 70.3 3,513 2.0
12 3,848 4.6 62.8 1,234 5.1
16 3,515 6.2 26.3 192 13.7
Rayong11
0 2,995 4.5 - -
4 3,619 5.0 156.0 1,418 11.0
8 3,617 5.3 77.8 797 9.8
12 3,343 5.3 29.0 441 6.6
16 3,942 5.4 58.1 1,044 5.6
Note : * Calculated from dry weight
AUE, agronomic efficiency = (yield N F – yield N 0)/N f applied
APUE, agrophysiological efficiency = (yield N F – yield N 0)/( N uptake N F - N uptake N 0)
ARE, apparent nitrogen recovery = ( N uptake N F - N uptake N 0)/ N f applied x 100
1.6 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
การใส่ปุ๋ยเป็นปัจจัยสำคัญต่อการเพิ่มผลผลิตของมันสำปะหลัง โดยพิจารณาว่าจะใช้ปุ๋ยในอัตราใดจึงจะ
คุ้มค่าต่อการลงทุน โดยวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ โดยใช้อัตราส่วนระหว่างรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการใช้ปุ๋ยต่อ
รายจ่ายจากการใช้ปุ๋ย หรือค่า Value to Cost Ratio (VCR) หากค่า VCR มากกว่า 2 แสดงว่ามีความคุ้มค่าทาง
เศรษฐศาสตร์ (Pevaiz et al., 2004) จากการทดลอง พบว่า การใช้ปุ๋ยไนโตรเจนของมันสำปะหลังสายพันธุ์ก้าวหน้าเพื่อ
ผลผลิตและแป้งสูง ในกลุ่มดินร่วนปนเหนียว ชุดดินวังไฮ กรรมวิธีที่มีการใส่ปุ๋ยไนโตรเจน อัตรา 4-8-8 กิโลกรัม N-P 2O 5-
K 2O ต่อไร่ ให้ผลตอบแทนคุ้มค่าแก่การลงทุน โดยมีค่า VCR เท่ากับ 2.1 และเมื่อพิจาณาการใช้พันธุ์ พบว่า การใช้มัน
สำปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 ร่วมกับการใส่ปุ๋ย 4-8-8 กิโลกรัม N-P 2O 5-K 2O ต่อไร่ ให้ผลตอบแทนคุ้มค่าแก่การลงทุน
มากที่สุด (Table 13)
117