Page 77 -
P. 77
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3-21
เนื่องจากการปลูกฝนของชาวเขามีปญหาตอการทําลายพื้นที่ปาไม ซึ่งผลตอเนื่องจากการ
ชะลางพังทลายของดิน และปญหาสิ่งแวดลอมอื่นอีกหลายประการ
จากปญหาดังกลาวรัฐบาลไดกําหนดแนวทางมาอยางตอเนื่อง โดยปรากฏในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมฉบับตางๆ ดังนี้
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) ในสวนที่สาม บทที่ 8 การ
พัฒนาสังคม ไดมีแนวทางการแกไขปญหายาเสพติดใหโทษ ในหนา 313 ดังนี้
“1.2.4 การสนับสนุนการปลูกพืชทดแทน ฝนเปนตัวการและเปนที่มาของเฮโรอิน จึงควร
หาวิธีการมิใหชาวเขาเผาตางๆ ตอนเหนือของประเทศมีการปลูกฝนโดยการจัดหาที่ที่เหมาะสมจัดตั้งเปนนิคม
ชาวเขาขึ้น ใหตั้งถิ่นฐานใหเปนหลักแหลง และสงเสริมใหมีการปลูกพืชทางดานเศรษฐกิจที่ไมผิดกฎหมาย
แทนฝนพรอมทั้งจัดหาตลาดใหแกพืชผลที่ผลิตได” (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ, 2519: 105,163,198,289,313,362)
ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525-2529) ในสวนที่ 5 การพัฒนา
โครงสรางและกระจายบริการทางสังคม บทที่ 4 แนวนโยบายและเปาหมายสวัสดิการสังคม ไดมีสวนที่
เกี่ยวของกับปญหาการปลูกฝนของชาวเขา ในหนา 284 ดังนี้
“3.1 ปญหาการปลูกฝนของชาวเขา
การปลูกฝนในประเทศไทย ผูที่ปลูกฝนเปนชาวเขาที่อยูกินอยางอิสระมานาน มีวัฒนธรรม
ประเพณีภาษาเปนของตนเอง บุคคลกลุมนี้ทําการปลูกฝนมาชานานดวยเหตุผลสําคัญ 2 ประการ คือ
ประการแรก เพื่อเปนแหลงที่มาของรายได หรือเพื่อการจําหนายแลกกับเครื่องบริโภคอุปโภคที่จําเปนในการ
ดํารงชีวิต และเหตุผลประการหลักคือเพื่อใชเปนยารักษาโรค และในพิธีกรรมทางสังคม ชาวเขาปลูกฝนโดย
การตัดไมทําลายปาอันเปนตนน้ําลําธารเพื่อใชเปนที่ปลูกฝน และทําไรเลื่อนลอย ดังนั้น ผลกระทบที่เกิดจาก
การปลูกฝน นอกจากจะกอใหเกิดความเสียหายอยางใหญหลวงในทางเศรษฐกิจสังคมอันเกิดจากตัวยาเสพ
ติดเองแลวยังนําไปสูการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะ ปาไม ที่ดิน และแหลงน้ําอีกดวย
จากการสํารวจในป 2523-2524 ปรากฏวามีพื้นที่ทําการปลูกฝน 40,411 ไร และไดเริ่มมี
การเตรียมพื้นที่สําหรับการปลูกฝน ในป 2524-2525 อีกเปนจํานวนมาก ผลผลิตฝนจากสามเหลี่ยมทองคํา
ในเขตพื้นที่สามประเทศ คือ พมา ลาว ไทย คาดวาจะไดประมาณ 460 ตัน และจะเปนฝนที่ผลิตในประเทศ
ไทยประมาณ 53 ตัน (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2524: 284)
ทั้งนี้ไดกําหนดมาตรการพัฒนาดานปองกันและกําจัดพืชเสพติด ในหนา 286-287 ดังนี้
“3.2.4 ดานปองกันและกําจัดพืชเสพติด
(1) ลดพื้นที่การปลูกฝน โดยการเพิ่มผลผลิตพืชทดแทนใหเพียงพอแกการบริโภค
และงานที่อาศัยทรัพยากรในพื้นที่และทักษะพิเศษของชาวเขาเปนสําคัญ เชน การสงเสริมการปลูกพืช
เศรษฐกิจ และสงเสริมดานหัตถกรรมโดยรวมดําเนินการระหวาง กรมประชาสัมพันธ กรมปาไม กรมสงเสริม
การเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนตน
(2) สงเสริมและสนับสนุนดานการตลาดสําหรับผลิตผลที่ผลิตเพื่อการจําหนายของ
ชาวเขาโดยความรวมมือระหวางกระทรวงพาณิชยและหนวยงานเอกชนตางๆ
(3) ยกระดับการศึกษา โดยเนนการศึกษานอกระบบโรงเรียน และการศึกษาภาค
บังคับรวมทั้งใหบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน