Page 73 -
P. 73
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3-17
ปจจัยขับเคลื่อน(Driver : D) มีปจจัย ดังนี้
(1) ประชากรเพิ่ม
(2) ความตองการที่ดินเพื่อกิจกรรมตางๆ เพิ่ม
(3) การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ
(4) นโยบายรัฐ
ความกดดัน (Pressure : P) จากปจจัยขับเคลื่อนดังกลาวไดสรางความกดดัน ดังนี้
(1) รัฐตองตอบสนองความตองการที่ดินเพื่อกิจกรรมตางๆ
(2) รัฐตองรักษาระบบนิเวศและสิ่งแวดลอมของประเทศโดยมีเปาหมายพื้นที่ปาไม
128 ลานไร
(3) ประชาชนตองการสิทธิในที่ดินในพื้นที่ปาไม
คุณภาพ/สถิติ (State : S) ผลจากสถานการณทําใหมีคุณภาพ และสถิติ ดังนี้
(1) ปาไมมีเนื้อที่เหลือเพียง 102.17 ลานไร (พ.ศ. 2559) ต่ํากวาเปาหมายที่
กําหนดไว 128 ลานไร
(2) พื้นที่ถูกบุกรุกบนพื้นที่ตนน้ํา 8.6 ลานไร
(3) มีพื้นที่สวนยางพาราอยูในพื้นที่ลุมน้ําชั้น 1AR และ 1BR รวม 1.25 ลานไร
ในป 2532 ปจจุบันมีจํานวน 4.5 ลานไร
(4) มีประชาชนอยูอาศัยและทํากินในพื้นที่ปาอนุรักษ ประมาณ 599,026 ครอบครัว
ผลกระทบ (Impact : I ) ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสถานการณปาไมที่ลดลงเหลือ
102.17 ลานไร นั้นมีดังนี้
(1) ดินถลม
(2) การชะลางพังทลายของดิน
(3) น้ําทวม
(4) แหงแลง
(5) ขาดความสมดุลของระบบนิเวศและ สิ่งแวดลอม
(6) นําเขาไมและผลิตภัณฑไมจากตางประเทศปละ 50,000 ลานบาท
การตอบสนอง (Response : R) จากผลกระทบดังกลาวนั้นรัฐบาลไดมีการตอบสนอง ดังนี้
(1) กําหนดเปาหมายพื้นที่ปาไมรอยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ
(2) กําหนดมาตรการการบังคับใชกฎหมาย
(3) มาตรการอพยพคนออกจากปา
(4) มาตรการจัดที่ดินทํากิน
(5) มาตรการการปลูกปา
(6) มาตรการการมีสวนรวมของภาคประชาชน
ปจจัยทั้ง 5 ประการนี้ มีความเชื่อมโยง ดังรายละเอียดในรูปที่ 3-1 และตารางที่ 3-10