Page 76 -
P. 76

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     3-20


                 3.2 ปญหาการปลูกฝน

                        การปลูกฝนของชาวเขาบนพื้นที่สูงหรือภูเขานั้น ขจัดภัย บุรุษพัฒน (2528 : 137-142)ไดวิเคราะห
                 ปญหาการปลูกฝนที่เกิดจากชาวเขาไว ดังนี้
                        “ในอาณาบริเวณปาเขาทางชายแดนภาคเหนือติดตอกับลาวและพมาเปนแหลงปลูกฝนที่สําคัญใน
                 ประเทศไทย ผูที่ปลูกฝนเปนอาชีพไดแกชาวเขาเผาแมว ลีซอ มูเซอ อีกอ และกะเหรี่ยง ซึ่งอาศัยกระจัด

                 กระจายกันอยูในบริเวณดังกลาว พวกนี้ไดยึดอาชีพการปลูกฝนมาเปนเวลาหลายชั่วคนแลว จากการสํารวจ
                 ความตองการทางเศรษฐกิจและสังคมของประชากรชาวเขาทางภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งกระทําโดย
                 คณะกรรมการปราบปรามยาเสพติดใหโทษเมื่อประมาณป 2509 ปรากฏวาพื้นที่ที่ใชในการปลูกฝนทั้งหมด
                 ของชาวเขามีจํานวนประมาณ 112,000 ไร ในพื้นที่ปลูกฝน 1 ไร จะใหผลผลิตประมาณ 1.3 กิโลกรัม ดังนั้น

                 ในปหนึ่งๆ ชาวเขาจะผลิตฝนไดประมาณ 145,000 กิโลกรัม จากการสํารวจของสํานักงาน ป.ป.ส รวมกับ
                 ตํารวจตระเวนชายแดน ระหวางเดือนตุลาคม 2523 - เมษายน 2524 โดยการวิเคราะหจากภาพถายทาง
                 อากาศและจากขอมูลที่เจาหนาที่สํารวจและเจาหนาที่หาขอมูลในทองถิ่นเขาทําการเก็บขอมูลพบวาเนื้อที่
                 ปลูกฝนทั้งหมดในภาคเหนือมีจํานวน 34,247.69 ไร ผลผลิตเฉลี่ย 1.29 กิโลกรัมตอไร ผลิตฝนไดทั้งหมด

                 44.15 ตัน ไมตองสงสัยเลยวาฝนจํานวนมากมายที่ชาวเขาผลิตขึ้นนี้ บางสวนถูกลักลอบนําเขามาจําหนายใน
                 ตลาดกรุงเทพฯ หรือถูกนําไปแปรสภาพเปนเฮโรอินบริเวณชายแดน ไทย–พมา แลวสงเขามาจําหนายใน
                 ประเทศไทย”


                        สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (2523: 16-17) ไดรายงานไววาฝนมี
                 ประโยชนตอชาวเขา 5 ประการ คือ
                               1. จําหนายเปนเงินสดหรือใชฝนแลกเปลี่ยนกับสิ่งของตางๆ ชาวเขาจะนําเงินที่ไดจากการ
                 ขายฝนหรือใชฝนซื้อ เครื่องอุปโภคบริโภค เชน อาหาร เสื้อผา วิทยุ ไฟฉาย นาฬิกา และอาจรวมถึงอาวุธ

                 ยุทโธปกรณตางๆ ฯลฯ
                               2. นําเงินที่ไดจากการขายฝนไปซื้อเงินแทง (ยานติ้ว) สําหรับนํามาทําเปนเครื่องประดับ
                 เชน ตางหู กําไล แหวน ฯลฯ ถาปไหนแหงแลงปลูกขาวไมพอบริโภค ชาวเขาจะนําเงินเหลานี้ขายเพื่อซื้อขาว
                 มาบริโภคพอประทังไปตลอดป และใชเปนคาตัวเจาสาวในการแตงงานดวย

                               3. ใชฝนเปนทุนสํารองเพื่อเปนทุนในการประกอบอาชีพตอไป
                               4. ใชฝนเปนคาจางแรงงานในการถางปาโคนไมทําไร
                               5. พวกชาวเขาที่ติดฝนใชบริโภคเอง


                               สํานักงาน ป.ป.ส. เริ่มดําเนินการสํารวจพื้นที่ลักลอบปลูกฝนในป พ.ศ. 2522 โดยรวมมือ
                 กับ บก.ตชด. ภาค.3 จัดทีมเจาหนาที่สํารวจทั้ง 2หนวยงานเดินเทาสํารวจในหมูบานชาวเขาที่สงสัยวามีการ
                 ลักลอบปลูกฝนใน 4 จังหวัด ไดแก เชียงราย เชียงใหม แมฮองสอน และพะเยารวมถึงพื้นที่ลุมน้ํา ไดแก ลุม
                 น้ํากก ลุมน้ําแมปง ลุมน้ําแมแจม ลุมน้ําแมจัน ลุมน้ําแมแตงและลุมน้ําแมงัด และในป พ.ศ. 2523 ไดบิน

                 ตรวจการณทางอากาศ พบพื้นที่ลักลอบปลูกฝนจํานวน 26,440 ไร
                               จนกระทั่งป พ.ศ. 2527 จึงใชวิธีการสํารวจภาคพื้นที่ดินรวมกับการสํารวจทางอากาศ
                 สามารถสํารวจครอบคลุมพื้นที่ศักยภาพลักลอบปลูกฝนได 76 แหลงที่สูงในภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งฝน
                 จะเจริญเติบโตไดดีในพื้นที่มีความสูงตั้งแต 800 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลางขึ้นไป และดําเนินการ

                 สํารวจในพื้นที่ 76 แหลงที่สูงตลอดมาจนถึงปจจุบัน (สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด,
                 2561: 4)
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81