Page 74 -
P. 74
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3-18
ปจจัยขับเคลื่อน การตอบสนอง
(Driver : D) (Response : R)
- ประชากรเพิ่ม - กําหนดเปาหมายพื้นที่ปาไมรอยละ 40 ของ
- ความตองการที่ดินเพื่อกิจกรรมตางๆ เพิ่ม พื้นที่ประเทศ
- การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ - กําหนดมาตรการการบังคับใชกฎหมาย
- นโยบายรัฐ - มาตรการอพยพคนออกจากปา
- มาตรการจัดที่ดินทํากิน
- มาตรการการปลูกปา
- มาตรการการมีสวนรวมของภาคประชาชน
ความกดดัน ผลกระทบ
(Pressure : P) (Impact : I )
- รัฐตองตอบสนองความตองการที่ดินเพื่อ - ดินถลม
กิจกรรมตางๆ - การชะลางพังทลายของดิน
- รัฐตองรักษาระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม - น้ําทวม
ของประเทศโดยมีเปาหมายพื้นที่ปาไม - แหงแลง
128 ลานไร - ขาดความสมดุลของระบบนิเวศและ
- ประชาชนตองการสิทธิในที่ดินในพื้นที่ สิ่งแวดลอม
ปาไม - นําเขาไมและผลิตภัณฑไมจาก
ตางประเทศปละ 50,000 ลานบาท
คุณภาพ/สถิติ
(State : S)
- ปาไมมีเนื้อที่เหลือเพียง 102.17 ลานไร (พ.ศ. 2559) ต่ํากวา
เปาหมายที่กําหนดไว 128 ลานไร
- พื้นที่ถูกบุกรุกบนพื้นที่ตนน้ํา 8.6 ลานไร
- มีพื้นที่สวนยางพาราอยูในพื้นที่ลุมน้ําชั้น 1AR และ 1BR
รวม 1.25 ลานไร ในป 2532 ปจจุบันมีจํานวน 4.5 ลานไร
- มีประชาชนอยูอาศัยและทํากินในพื้นที่ปาไมประมาณ15 ลานไร
รูปที่ 3-1 การวิเคราะหสถานการณปาไมในภาพรวมในปจจุบัน โดยระบบ DPSIR