Page 7 -
P. 7

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                  อยาใหทั้งสองสวนนี้รุกล้ําซึ่งกันและกัน ซึ่งโครงการหลวงไดดําเนินการพัฒนาพื้นที่สูงโดยเฉพาะพื้นที่ที่ชาวเขา
                  อาศัยและทํากินอยูจนประสบความสําเร็จทั้งการกําจัดการปลูกฝน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติทั้งดิน

                  น้ําและปา การตั้งถิ่นฐานอยางถาวรของชาวเขา การพัฒนาอาชีพ นําไปสูการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยรวม
                  ซึ่งวิธีการและหลักเกณฑตางๆ ไดนําไปใชในการขยายผลในพื้นที่สูงอื่นๆ อยางกวางขวางในเวลาตอมา
                  ในสวนของรัฐบาลนั้นในชวงระยะที่ 2 นี้ไดเนนไปที่การพัฒนาชาวเขาโดยการจัดตั้งนิคมสรางตนเองสงเคราะห
                  ชาวเขาและสถาบันวิจัยชาวเขา รวมทั้งกําหนดนโยบายรวมพวก (Integration Policy)  กับชาวเขา และการ

                  ควบคุม  ยาเสพติด มุงขจัดการปลูกฝนโดยการปลูกพืชทดแทน ตลอดจนการนําการพัฒนาเขตพื้นที่โดยระบบ
                  Zonal Integrated  Development  เขามาใช  ตอมาในระยะที่ 3 ในชวง พ.ศ. 2525-2545 นั้น ในป 2535
                  โครงการหลวงไดจดทะเบียนเปน “มูลนิธิโครงการหลวง” รวมทั้งไดมีการดําเนินโครงการพัฒนาตาม
                  พระราชดําริในหลายพื้นที่ของพื้นที่สูง นอกจากนั้นคณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบแผนแมบทการพัฒนาพื้นที่สูง

                  เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2532 หลังจากนั้นไดมีการจัดทําแผนแมบทเพื่อการพัฒนาชุมชน สิ่งแวดลอมและการ
                  ควบคุมพืชเสพติดบนพื้นที่สูง ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2535-2539) ซึ่งโครงการนี้ไดดําเนินการตอเปนฉบับที่ 2
                  (พ.ศ. 2540-2544) และตอเนื่องไปเปนฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2545-2549) จึงไดยุติลง สวนการบริหารจัดการพื้นที่สูง
                  ในระยะที่ 4 ในชวง พ.ศ. 2546  ถึงปจจุบันนั้น ในป พ.ศ. 2547 ไดมีการจัดตั้ง “สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่

                  สูง (องคการมหาชน)” ขึ้นโดยกําหนดเปาหมาย “การพัฒนาที่ยั่งยืน”  เพื่อการสนับสนุนงานโครงการหลวงและ
                  ขยายผลองคความรูโครงการหลวง ในป พ.ศ. 2549 ไดเริ่มโครงการรักษน้ําเพื่อพระแมของแผนดินในพื้นที่ 10
                  ลุมน้ําของภาคเหนือ ภายหลังการดําเนินงานตามแผนแมบทเพื่อการพัฒนาชุมชน สิ่งแวดลอม และการควบคุม

                  พืชเสพติดบนพื้นที่สูง ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2545-2549) ไดสิ้นสุดลง คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหดําเนินการโดยเขาสูระบบ
                  ปกติของสวนราชการตางๆ ที่เกี่ยวของ ตอมาในป พ.ศ. 2552 ไดมีการจัดตั้งมูลนิธิปดทองหลังพระสืบสานแนว
                  พระราชดําริและสถาบันสงเสริมและพัฒนากิจกรรมปดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชดําริขึ้น หลังจากนั้นใน
                  ป 2553 ไดมีการจัดทําแผนแมบทโครงการขยายผลโครงการหลวงเพื่อแกปญหาพื้นที่ปลูกฝนอยางยั่งยืนระยะ 1
                  (พ.ศ. 2553-2556) และระยะที่ 2 (พ.ศ. 2557-2561) เมื่อสิ้นสุดระยะที่ 2 ไดมีการเปลี่ยนชื่อเปนแผนแมบท

                  โครงการพัฒนาพื้นที่สูง แนวโครงการหลวงเพื่อแกปญหาพื้นที่เฉพาะ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2562-2564) ในชวงเวลา
                  ระยะที่ 4 นี้ ไดมีรัฐวิสาหกิจเขามาพัฒนาพื้นที่สูงโดยการปลูกปาและสรางฝาย รวมทั้งสนับสนุนชุมชนบนพื้นที่
                  สูงใหเปลี่ยนอาชีพจากปลูกพืชไรมาปลูกปา

                         จากการทบทวนผลจากการบริหารจัดการพื้นที่สูงทั้ง 4 ระยะ เปนเวลา 60 ปเศษนั้น พื้นที่สูงภายใต
                  โครงการตามพระราชดําริ โครงการพัฒนาของมูลนิธิโครงการหลวง มูลนิธิปดทองหลังพระสืบสานแนว
                  พระราชดําริ โครงการรักษน้ําเพื่อพระแมของแผนดิน และโครงการพัฒนาที่ดําเนินการโดยสวนราชการตางๆ นั้น ได
                  แกไขปญหาทั้ง 7 ประการของพื้นที่โครงการดังกลาวขางตนจนประสบความสําเร็จ บางโครงการอยูในระหวาง

                  ดําเนินการตามลําดับของขั้นตอน
                         อยางไรก็ตามพื้นที่สูงที่ยังไมมีโครงการพัฒนาเขาไปดําเนินการนั้นยังมีอีกจํานวนมาก จึงยังคงมีปญหา
                  ทั้ง 7 ประการอยูในปจจุบันซึ่งปญหาที่มีอยูอาจจะแตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่ จากการปริทัศนสถานภาพ
                  ความรูในการบริการจัดการพื้นที่สูง ไดมีการถอดบทเรียนเพื่อเปนแนวทางที่จะนําไปกําหนดนโยบายในอนาคต

                  10 ประการ คือ (1) ขาดแผนแมบทการพัฒนาพื้นที่สูงทั้งประเทศ (2)  ขาดคณะกรรมการประสานงานการ
                  พัฒนาพื้นที่สูงในภาพรวม (3) การกําหนดนโยบายพัฒนาการเกษตรและการใชที่ดินที่มีวัตถุประสงคเฉพาะดาน
                  มีผลกระทบตอพื้นที่สูง (4) มีการกําหนดนโยบายแตไมมีแผนปฏิบัติและการปฏิบัติลาชาไมสามารถรองรับ
                  ปญหาที่เกิดขึ้นได



                                                               จ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12