Page 6 -
P. 6

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                  วิธีการศึกษา

                         (1) ทบทวนวรรณกรรมนโยบายของรัฐในการบริหารจัดการพื้นที่สูงจากอดีตถึงปจจุบัน รวม 13 ระยะ
                  ดังที่กลาวในขอบเขตการศึกษา
                         (2) ทบทวนวรรณกรรมถึงผลการศึกษา แนวคิด และขอเสนอของนักวิชาการและสถาบันตางๆ ในการ
                  บริหารจัดการพื้นที่สูงจากอดีตถึงปจจุบัน

                         (3) ทบทวนวรรณกรรมเรื่องโครงการพัฒนาพื้นที่สูงของหนวยงานภาครัฐ มูลนิธิ และภาคเอกชนจาก
                  อดีตถึงปจจุบัน
                         (4) ทบทวนวรรณกรรมประสบการณนานาชาติในการจัดการพื้นที่สูง รวมทั้งขอตกลงในอนุสัญญา
                  และปฎิญญา ที่เกี่ยวของกับชนเผาในที่สูง

                         (5) สํารวจขอมูลปฐมภูมิสถานภาพของพื้นที่สูงในปจจุบันทั้งดานกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม
                  ในพื้นที่ 12 จังหวัด คือ เชียงใหม นาน เชียงราย ชัยภูมิ ขอนแกน อุทัยธานี กาญจนบุรี เพชรบุรี สุราษฎรธานี
                  นครศรีธรรมราช ตรัง และกระบี่
                         (6) วิเคราะหผลสําเร็จ ปญหาและอุปสรรคของผลการดําเนินการในการพัฒนาพื้นที่สูงในอดีตถึง

                  ปจจุบันโดยใชประสบการณนานาชาติมาประกอบในการวิเคราะห
                         (7) ถอดบทเรียนการบริหารจัดการพื้นที่สูงทั้งที่ประสบความสําเร็จและไมประสบความสําเร็จตาม
                  เปาหมาย เพื่อเปนแนวทางที่จะนําไปกําหนดนโยบายในอนาคต


                  ขอมูลที่ใชในการศึกษา
                         มีการใชขอมูลทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ
                         (1) ขอมูลปฐมภูมิมีการสํารวจความเห็นเจาหนาที่ของรัฐในพื้นที่ศึกษาจากการสุมตัวอยางแบบเจาะจง
                  ในพื้นที่ 12 จังหวัด ที่กลาวขางตน

                         (2)  ขอมูลทุติยภูมิ เปนการทบทวนขอมูลนโยบายของรัฐ ที่มาจาก จดหมายเหตุ ราชกิจจานุเบกษา
                  กฎและระเบียบที่ประกาศใชคําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
                  แหงชาติ ฉบับที่ 1- ฉบับที่ 12 มติคณะรัฐมนตรี แผนบริหารราชการแผนดิน มติของคณะกรรมการที่เกี่ยวของ

                  กับการบริหารจัดการพื้นที่สูง รายงานประจําปของสวนราชการตางๆ รายงานการศึกษาของนักวิชาการและสถาบันตางๆ
                  รวมทั้งบทความตางๆ ที่มีการจัดพิมพเผยแพร

                  ผลการศึกษา

                         จากการทบทวนวรรณกรรมและสัมภาษณเจาหนาที่ของรัฐในพื้นที่ศึกษาเรื่องการบริหารจัดการพื้นที่สูง
                  พบวาพื้นที่สูงมีปญหาที่สําคัญ 7 ประการ ไดแก (1) การตัดไมทําลายปา (2) การปลูกฝน (3) การชะลาง

                  พังทลายของดิน (4) ดินถลม (5) ปญหาชาวเขา (6) ปญหาการประกอบอาชีพของประชากรบนพื้นที่สูง
                  และ (7) ปญหาสิ่งแวดลอม เพื่อแกไขปญหาดังกลาวรัฐไดมีการบริหารจัดการพื้นที่สูงมาอยางตอเนื่องซึ่ง
                  สามารถแบงออกไดเปน 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ในชวง พ.ศ. 2499-2509 เปนการเริ่มตนของรัฐบาลโดยเขาไป
                  สงเคราะหชวยเหลือประชาชนผูยากไรหางไกลคมนาคม ตอมาในระยะที่ 2 ในชวง พ.ศ. 2510-2524 ในชวงนี้
                  ไดมีการจัดตั้งโครงการหลวงขึ้นในป 2512 โดยมีวัตถุประสงค 4 ประการ คือ (1) ชวยชาวเขาเพื่อมนุษยธรรม

                  (2) ชวยชาวไทยโดยลดการทําลายทรัพยากรธรรมชาติคือปาไมและตนน้ําลําธาร (3) กําจัดการปลูกฝน
                  และ (4) รักษาดินและใชพื้นที่ใหถูกตองคือ ใหปาอยูในสวนที่เปนปาและทําไรทําสวนในสวนที่ควรเพาะปลูก



                                                               ง
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11