Page 24 -
P. 24

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       สังคมผูสูงวัย ขณะที่กลุมที่สองศึกษาเกี่ยวกับปจจัยที่จะสงผลตอการเติบโตของเศรษฐกิจในอนาคต

                       เมื่อประเทศไทยคอยๆ เขาสูสังคมผูสูงวัยอยางสมบูรณ
                              ผลการศึกษาจากงานวิจัยในกลุมแรกระบุวา การผลิตและการนำเขาสินคาเกษตร อาหาร

                       และอุตสาหกรรมของไทยจะลดลง ขณะที่การสงออกสินคาเหลานี้จะสูงมากขึ้นเมื่อเขาสูสังคมผูสูงวัย

                       โดยเฉพาะอยางยิ่งสินคาประเภทอาหาร ขณะที่ความตองการนำเขาบริการสุขภาพของไทยและ
                       ประเทศในกลุมอาเซียน 5 ก็จะเพิ่มมากยิ่งขึ้นตามจำนวนผูสูงอายุ (ดนุพล และกรกรัณย 2556) และ

                       หากพิจารณาเฉพาะภาคเกษตรก็ยิ่งเห็นชัดเจนถึงจำนวนแรงงานที่คาดวาจะลดลงอยางมากในอนาคต
                       สงผลใหปริมาณการผลิตพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ อาทิ ขาว ขาวโพดเลี้ยงสัตว และมันสำปะหลัง ลดลง

                       ตามไปดวย ทั้งๆ ที่ความตองการสินคาเหลานี้นาจะมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นในอนาคตเพื่อรองรับ

                       ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและการเปดเขตการคาเสรี (จารึก 2554) เมื่อหันกลับมามองที่ผลกระทบ
                       ตอการบริโภค พบวา การเปนสังคมชราภาพจะทำใหความตองการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มในบาน

                       รวมถึงความตองการที่อยูอาศัยและสาธารณูปโภค เพิ่มมากขึ้นกวาในอดีต (สมประวิณ 2553)
                              เมื่อพิจารณาผลกระทบในแงของความเหลื่อมล้ำทางรายได พบวา ผูสูงอายุเปนกลุมที่มีระดับ

                       การศึกษาต่ำที่สุด และสวนใหญไมมีรายไดหรือมีรายไดนอย และที่สำคัญคือประชากรสูงอายุมีความ

                       แตกตางทางรายไดภายในกลุมสูงที่สุด และความเหลื่อมล้ำดังกลาวมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ผล
                       การแยกสวนวิเคราะหความเหลื่อมล้ำทางรายไดของประชากรสูงอายุตามปจจัยตางๆ ชี้วาความ

                       เหลื่อมล้ำทางรายไดสวนใหญเกิดจากความเหลื่อมล้ำทางรายไดภายในกลุมประชากรสูงอายุเปนหลัก

                       และที่นาสนใจคือความเหลื่อมล้ำทางรายไดระหวางกลุมประชากรสูงอายุกับกลุมประชากรในชวงอายุ
                       อื่นก็มีแนวโนมที่จะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วและตอเนื่อง อยางไรก็ตาม ระดับการศึกษาที่สูงขึ้น การมี

                       ระบบประกันสังคม และการไดรับสวัสดิการของภาคเอกชนสามารถชวยลดปญหาความเหลื่อมล้ำทาง
                       รายไดของประชากรสูงอายุในประเทศไดอยางมีนัยสำคัญ (สวรัย และคณะ 2554)

                              ผลการศึกษาจากงานวิจัยในกลุมที่สอง ระบุวา การพัฒนาทางเทคโนโลยีทำใหประสิทธิภาพ

                       การผลิตของแรงงานเพิ่มขึ้นเพื่อชดเชยการขาดหายไปของประชากรในวัยทำงานและการลดลงของ
                       ชั่วโมงทำงาน (นณริฎ และจิระวัฒน 2555) ขณะที่แรงงานตางดาวไมสามารถชวยแกปญหาการลดลง

                       ของ GDP ตอหัวไดในชวง 40 ปขางหนา เนื่องจากแรงงานตางดาวมีประสิทธิภาพการผลิตต่ำกวา
                       แรงงานไทย (แรงงานตางดาว 1 คนมีความสามารถเทากับแรงงานไทย 0.58 คน) อีกทั้งแรงงานตาง

                       ดาวทำใหสัดสวนปจจัยทุนตอแรงงานต่ำลง (ธนะพงษ 2553) และหากเปรียบเทียบระบบบำนาญภาค

                       บังคับที่มีการจัดการโดยรัฐกับระบบบำนาญแบบผสมซึ่งจะพึ่งพิงเงินที่ไดจากการเลี้ยงดูจากบุตร
                       พบวา ระบบแรกจะสงผลดีตอการเติบโตทางเศรษฐกิจมากที่สุด เนื่องจากระบบหลังจำเปนตองอาศัย

                       การออมและการสะสมทุนของประชากรวัยทำงานในปจจุบัน (กรกรัณย และจันทรทิพย 2553)

                              จิระวัฒน และคณะ (2559) ไดทบทวนและสังเคราะหงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลง
                       โครงสรางประชากรในมิติการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความมั่นคงทางการเงินของประชากรของ

                       ประเทศไทย เพื่อสรุปองคความรูในสวนที่มีอยูแลวในปจจุบันและสวนที่ยังคงชองวางซึ่งเห็นวาควรมี





                                                               1-5
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29