Page 20 -
P. 20
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 1 (แผนงาน)
ผลกระทบของสังคมผูสูงวัยตอการผลิตในภาคเกษตรและความเหลื่อมล้ำ
ของครัวเรือนเกษตรกรในชนบทของประเทศไทย (ภาพรวม)
1.1 บทนำ
1.1.1 ที่มาและความสำคัญ
ประเทศไทยเริ่มเขาสูสังคมผูสูงวัยตั้งแตป พ.ศ. 2548 ดังเห็นไดจากจำนวนประชากรที่อายุมากกวา
60 ป ไดเพิ่มขึ้นและคิดเปนสัดสวนที่มากกวารอยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ ในป พ.ศ. 2560
ประชากรไทยมีจำนวน 64.63 ลานคน และเปนประชากรที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป จำนวน 10.26
ลานคน คิดเปนรอยละ 15.82 ของประชากรทั้งหมด (กรมการปกครอง 2561) สาเหตุที่ประเทศไทย
ตองเผชิญกับการเปนสังคมผูสูงวัยอยางรวดเร็วมีสาเหตุจากอัตราเจริญพันธุรวม (Total fertility) ที่
นอยลง และอายุขัยเฉลี่ยของประชากรที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งเพิ่มจากเดิม 54.70 ป ในป พ.ศ. 2503 เปน
75.07 ป ในป พ.ศ. 2558 (World Bank 2017) การเขาสูสังคมผูสูงอายุของประเทศไทยสงผลกระทบ
โดยตรงตอกำลังแรงงานในภาคการผลิตสาขาตางๆ โดยการลดลงของปริมาณและคุณภาพของ
แรงงานจะทำใหเศรษฐกิจของประเทศเกิดการชะลอตัว ภาคครัวเรือนก็จำเปนตองลดการใชจาย
ขณะที่สัดสวนของหนี้สินตอรายไดที่เพิ่มขึ้นกอใหเกิดความไมมั่นคงทางการเงินของครัวเรือน ทั้งนี้
ระดับความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดขึ้นในแตละสาขาการผลิตยอมแตกตางกัน และแปรผันตาม
สัดสวนจำนวนแรงงานสูงอายุและปจจัยเกี่ยวเนื่องที่เปนตัวกำหนดผลิตภาพของแรงงานในสาขานั้นๆ
การกระจุกตัวของแรงงานสูงอายุในภาคเกษตรสงผลใหผลิตภาพแรงงานในภาคเกษตรนา
เปนหวงอยางยิ่ง จากผลการสำรวจภาวะการทำงานของไทยในป 2561 พบวาแรงงานในภาคเกษตรมี
มากถึง 13.36 ลานคน ซึ่งคิดเปนสัดสวนที่สูงถึงรอยละ 46.89 ของแรงงานทั้งประเทศ สถิติจากสำมะ
โนเกษตรระบุวา สัดสวนของแรงงานสูงอายุที่มีอายุมากกวา 60 ป เพิ่มขึ้นจากรอยละ 13 ในป 2546
เปนรอยละ 19 ในป 2556 ซึ่งสูงกวาคาเฉลี่ยของประเทศในป 2560 (Attavanich et al. 2019) หาก
ผลิตภาพของแรงงานในภาคเกษตรแปรผกผันกับอายุเกษตรกรในชวงวัยสูงอายุ ภาคเกษตรของไทยก็
กำลังตกอยูในสถานการณที่ลำบาก เพราะแรงงานสูงอายุสวนมากขาดวุฒิการศึกษาและทักษะวิชาชีพ
ที่เอื้อตอการสะสมทรัพยสินในชวงวัยทำงาน รวมถึงการโอกาสในการหางานนอกภาคเกษตรเมื่อเขาสู
วัยชราก็ทำไดยาก ดวยเหตุนี้ เกษตรกรสูงวัยจำนวนมากจึงจำเปนตองทำการเกษตรตอไป พรอมๆ กับ
รายไดที่ลดลงและการสะสมทรัพยสินที่ไมเพียงพอเพื่อใชจายในวัยชรา ในทางตรงขาม การศึกษาที่
สูงขึ้น ความยากลำบากในการทำการเกษตร และคาจางที่สูงกวาในภาคอุตสาหกรรมและบริการ
สงผลใหแรงงานวัยหนุมสาวนิยมยายถิ่นฐานจากชนบทเขาสูเมือง ภาคเกษตรจึงมีการกาวเขาสูสังคม
ผูสูงอายุเร็วกวาภาคการผลิตอื่นๆ
1-1