Page 21 -
P. 21

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                              นอกจากการลดลงของผลิตภาพการผลิตแลว ประเด็นที่มีการพูดถึงมากที่สุดเมื่อกลาวถึง

                       ผลกระทบของเกษตรกรสูงอายุ คือ ผลกระทบตอประสิทธิภาพการผลิต และความเหลื่อมล้ำในมิติ
                       ตางๆ ทั้งในเชิงเปรียบเทียบระหวางกลุมเกษตรกรสูงอายุกับเกษตรกรวัยอื่นๆ และภายในกลุม

                       เกษตรกรสูงอายุเอง ในประเด็นแรก สมมติฐานเบื้องตนคาดวาเกษตรกรสูงอายุจะมีประสิทธิภาพใน

                       การผลิตที่ต่ำกวาเกษตรกรกลุมอื่น หากเปนเชนนั้นจริง การออกแบบนโยบายของภาครัฐเพื่อใหความ
                       ชวยเหลือกลุมเปาหมายใหตรงตามเปาหมายก็ทำไดงาย อยางไรก็ตาม สมมติฐานดังกลาวอาจไมเปน

                       จริงเสมอ อาจเปนไปไดวาเกษตรกรสูงวัยมีแนวโนมที่จะลงทุนหรือใชเครื่องมือสมัยใหมมากกวากลุม
                       อื่นเนื่องจากมีเงินทุนหรือทรัพยสินมากกวา ขณะที่การรับรูขาวสารดานการผลิตและการตลาดสินคา

                       เกษตรของเกษตรกรสูงอายุอาจไมนากังวลอยางที่คาดการณ หากเกษตรกรกลุมนี้อาศัยอยูกับ

                       ลูกหลานและมีการถายทอดความรูระหวางรุนอายุอยางสม่ำเสมอ
                              ในแงการผลิต หากแรงงานวัยทำงานหรือเทคโนโลยีไมสามารถเพิ่มขึ้นไดเทาทันกับจำนวน

                       แรงงานสูงอายุที่มากขึ้น การชราภาพของเกษตรกรจะสงผลใหประสิทธิภาพทางการผลิตโดยรวมของ
                       ภาคเกษตรลดลง สาเหตุอาจเปนเพราะการใชปจจัยการผลิตของเกษตรกรสูงอายุจะต่ำกวาระดับที่

                       เหมาะสมหากการผลิตดังกลาวใชปจจัยทุนที่สูงและตองการการควบคุมดูแลอยางใกลชิด โดยเฉพาะ

                       อยางยิ่งกรณีฟารมขนาดใหญ ดังนั้น เกษตรกรจำนวนไมนอยอาจเลือกปลอยที่ดินวางเปลาโดยไมใช
                       ประโยชนใดๆ หรืออาจลดขนาดที่ดินทำกินโดยการแบงที่ดินเปนแปลงยอยใหกับลูกหลาน หรือเพื่อ

                       ปลอยเชาใหกับเกษตรกรรายอื่น พฤติกรรมการตัดสินใจใชปจจัยที่ดินดังกลาวจะสงผลกระทบตอทั้ง

                       อุปสงคและอุปทานในตลาดซื้อขายและตลาดเชาที่ดิน และประสิทธิภาพของตลาดที่ดินในการ
                       เคลื่อนยายที่ดินระหวางครัวเรือนนี้เองมีบทบาทอยางมากตอการขยายขนาดฟารม และแรงจูงใจใน

                       การนำเครื่องจักรและเทคโนโลยีมาใชในการผลิต (อุชุก ดวงบุตรศรี 2560) เกษตรกรสูงวัยเองก็
                       จำเปนตองปรับเปลี่ยนวิถีการดำรงชีพ ซึ่งอาจหมายถึงความหลากหลายของการเพาะปลูกและ

                       แหลงที่มาของรายไดที่เปลี่ยนไป พืชไรเศรษฐกิจบางชนิดที่มีกระบวนการเพาะปลูกและเก็บเกี่ยวที่

                       งายและสะดวกอาจเพิ่มจำนวนมากขึ้นในอนาคตตามจำนวนผูสูงอายุ ขณะที่พืชสวนและไมผลอาจลด
                       จำนวนลง แตก็เปนที่ทราบกันดีวาพืชไรมักประสบกับปญหาราคาตกต่ำ ดังนั้นจึงเปนที่นาสนใจวา

                       ครัวเรือนที่มีสัดสวนผูสูงอายุสูงจะมีวิธีการบริหารจัดการกับรายไดทางการเกษตรที่ลดลงอยางไร
                       สวนมากแลว สมาชิกในครัวเรือนตองชวยกันดิ้นรนในการแสวงหาชองทางเพื่อเพิ่มรายไดนอกภาค

                       เกษตรใหหลากหลายมากขึ้น แตขนาดครัวเรือนที่เล็กลง (ดังเชนในปจจุบัน) และระดับการศึกษาที่ไม

                       สูงของเกษตรกรสูงวัยไดจำกัดโอกาสในการสรางความหลากหลายทางรายไดดังกลาว บางครัวเรือน
                       จำเปนตองกูเงินเพื่อนำมาใชเปนคาใชจายในการดำรงชีวิตมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาจากหนี้สินที่ซึ่งไม

                       กอใหเกิดรายไดนี้ก็คือความยากจนและความเหลื่อมล้ำในมิติตางๆ ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น

                              การสะสมหนี้สินของครัวเรือนผูสูงอายุสรางความกังกลหลายประการ ประการแรก หาก
                       ผูสูงอายุมีการสะสมทรัพยสินและการออมไมเพียงพอตอคาใชจายใชจาย คนกลุมนี้จึงจำเปนตองใช

                       แรงงานในภาคเกษตรตอไปเพื่อหารายไดมาจุนเจือตนเองและครอบครัว สงผลใหภาคเกษตรสะสม





                                                               1-2
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26