Page 23 -
P. 23

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                              วัตถุประสงคของโครงการวิจัย

                              1) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงปจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือนในภาคเกษตรของ
                       ประเทศไทย

                              2) วิเคราะหผลกระทบของสังคมผูสูงวัยตอการผลิตในภาคเกษตรของประเทศไทยใน 4 ดาน

                              ไดแก
                                     2.1) การแบงแปลงยอยที่ดิน (Land fragmentation)

                                     2.2) ความหลากหลายในการดำรงชีพ (Livelihood diversifications)
                                     2.3) การละทิ้งไมใชประโยชนที่ดิน (Land abandonment)

                                     2.4) ประสิทธิภาพการผลิต (Technical efficiency)

                              3) ศึกษาองคประกอบของความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ (Inequality decomposition) ใน
                       3 มิติ ไดแก รายได ทุน และสินทรัพย พรอมทั้งวิเคราะหสาเหตุของความเหลื่อมล้ำของครัวเรือนไทย

                       ในชนบท
                              เนื้อหาในลำดับถัดไปของบทที่ 1 จะนำเสนอสถานการณการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ

                       เศรษฐกิจของครัวเรือนเกษตรในประเทศไทย โดยอางอิงจากสถิติขอมูลสำมะโนการเกษตร พ.ศ.

                       2546 และ 2556 ซึ่งจะตอบวัตถุประสงคขอที่ (1) ขางตน ขณะที่การวิเคราะหผลกระทบของสังคมผู
                       สูงวัยตามวัตถุประสงคขอที่ (2) และ (3) จะนำเสนอในบทที่ 2 และ 3 ของรายงานฉบับนี้ ตามลำดับ

                       โดยใชขอมูลครัวเรือนแบบภาคตัดขวางขามชวงเวลา (Panel data) จากฐานขอมูล The Townsend

                       Thai Project
                                  1


                       1.2    งานวิจัยดานเศรษฐศาสตรเกี่ยวกับสังคมผูสูงวัยภายใตการสนับสนุนของ สกว.
                       หากพิจารณาจากสัดสวนผูสูงอายุที่เพิ่มขึ้นสูงกวารอยละ 10 ตั้งแตป พ.ศ. 2547 จึงอาจกลาวไดวา

                       สังคมไทยไดกาวเขาสูการเปนสังคมชราภาพ (Aging society) เปนที่เรียบรอยแลว และคาดวาสัดสวน

                       ดังกลาวจะเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็วในอนาคตตามภาวะอัตราเจริญพันธุของประชากรที่มีทิศทางลดลง
                       อยางตอเนื่อง และอายุขัยที่เพิ่มขึ้นตามความกาวหนาทางการแพทย (สมประวิณ 2553) การ

                       เปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรดังกลาวจะสงกระทบตอการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยอยาง
                       หลีกเลี่ยงไมได การคนควาวิจัยในประเด็นที่เกี่ยวของจึงมีความสำคัญอยางมากตอการวางแผนเชิง

                       นโยบายของประเทศ อยางไรก็ตาม กลับพบวาการศึกษาเกี่ยวกับสังคมผูสูงวัยในเชิงเศรษฐศาสตรของ

                       ไทยกลับมีอยูอยางจำกัด
                              ในป พ.ศ. 2553 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ไดใหเงินสนับสนุนงานวิจัย

                       ภายใตชุดโครงการ “มิติทางเศรษฐกิจของการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร” ซึ่งสามารถจำแนก

                       อยางกวางๆ ไดเปน 2 กลุม กลุมแรกทำการวิเคราะหผลกระทบทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการเขาสูง



                        http://townsend-thai.mit.edu/
                       1



                                                               1-4
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28