Page 83 -
P. 83
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ดังกล่ำวต่อสินค้ำผลไม้ที่ได้รับควำมนิยม 3 ชนิด ได้แก่ ล ำไย ทุเรียนและมังคุด ในห่วงโซ่อุปทำนของ
อุตสำหกรรมผลไม้ ดังต่อไปนี้
ตำรำงที่ 4.2.1 ประเด็นกำรตรวจสอบกำรเข้ำมำของผู้ประกอบกำรข้ำมชำติจีนในห่วงโซ่อุปทำนผลไม้ภำค
ตะวันออก
ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยและกำรตลำด
กำรผลิต (Productions) กำรจัดกำรโลจิสติกส์ (Logistics)
(Marketing and Distribution)
- กำรยึดครองที่ดิน (Land - กำรรับเหมำซื้อผลิตภัณฑ์ (ล้ง) - กำรส่งออก
Grabbing) - บรรจุภัณฑ์ (Packaging) - กำรจ ำหน่ำยในประเทศ (ค้ำปลีก
- เกษตรแบบพันธสัญญำ - กำรถนอมและแปรรูปอำหำร และค้ำส่ง)
(Contract Farming) - กำรจัดเก็บ
- กำร “เหมำสวน” เกษตรกร - กำรขนส่ง
4.2.1 กำรลงส ำรวจพื้นที่ (Field Investigation)
จำกกำรลงส ำรวจพื้นที่ (Field Investigation) ใน 3 จังหวัดภำคตะวันออก เพื่อสอบถำมควำม
คิดเห็นจำกผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในธุรกิจผลไม้ โดยมีผู้เข้ำร่วมประชุมประกอบด้วย 1) เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียน
มังคุด ล ำไย 2) ผู้ประกอบกำรในห่วงโซ่อุปทำน เช่น ผู้ขำยอุปกรณ์และเคมีภัณฑ์ทำงกำรเกษตร ผู้รับซื้อผลไม้
ผู้เก็บเกี่ยวผลผลิต 3) ตัวแทนจำกหน่วยงำนภำครัฐ องค์กรกำรค้ำในพื้นที่ เช่น เกษตรจังหวัด/เกษตรอ ำเภอ
พำณิชย์จังหวัด ตัวแทนจำกหอกำรค้ำจังหวัด อุตสำหกรรมจังหวัด เป็นต้น ตลอดจนสอบถำมควำมคิดเห็น
เกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดขึ้นจำกกำรเข้ำมำลงทุนของผู้ประกอบกำรจีน ทั้งด้ำนบวกและลบ ประเด็นปัญหำ
รวมถึงข้อกังวลต่ำงๆ โดยสำมำรถสรุปได้ดังนี้
ผลกระทบด้ำนกำรผลิต
- กำรยึดครองที่ดิน (Land Grabbing) จำกเกษตรไทย โดยผู้ประกอบกำรชำวจีนมีกำรกล่ำวถึง
บ้ำง แต่ยังไม่มีข้อมูลที่ชัดเจน หำกแต่อำจจะอยู่ในรูปของกำรที่นักธุรกิจชำวจีนได้มำสมรสกับภรรยำชำวไทย
และท ำกำรซื้อที่ดินในนำมของคู่สมรส หรือญำติพี่น้องของคู่สมรส
ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย 71 สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
ฝ่ำยเกษตร