Page 82 -
P. 82
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลกระทบต่อรำคำมังคุด
จำกผลกำรทดสอบในตำรำงที่ 4.1.10 จะเห็นว่ำค่ำ P-value มีค่ำ .001 < 0.05 ดังนั้นที่ระดับควำม
เชื่อมั่น 0.05 สำมำรถปฎิเสธ Ho นั่นคือ รำคำขำยเฉลี่ยของมังคุดก่อนจีนเข้ำมำไม่เท่ำกับรำคำขำยเฉลี่ยหลัง
จีนเข้ำมำ หรือกำรที่จีนเข้ำมำส่งผลต่อรำคำที่ขำยของมังคุดหลังจำกที่ได้ค ำนึงถึงผลของปริมำณผลผลิตแล้ว
ตำรำงที่ 4.1.10 กำรทดสอบทำงสถิติโดยวิธี Analysis of Covariance (ANCOVA) ของรำคำมังคุดก่อน
และหลังกำรเข้ำมำของผู้ประกอบกำรจีน
Type III Sum
Source df Mean Square F Sig.
of Squares
a
Corrected Model 4296.645 2 2148.323 7.206 .002
Intercept 16795.367 1 16795.367 56.338 .000
China 3966.507 1 3966.507 13.305 .001
Quantity 498.971 1 498.971 1.674 .201
Error 15800.140 53 298.116
Total 52116.579 56
Corrected Total 20096.785 55
a R Squared = 0.214 (Adjusted R Squared = 0.184)
นอกจำกนั้น เพื่อให้มั่นใจกำรศึกษำยังได้ทดสอบ ANCOVA โดยก ำหนดให้ผู้ประกอบกำรจีนได้เข้ำ
มำมีบทบำทใน 5 ปีหลัง คือระหว่ำงปี พ.ศ. 2557 - 2561 ตลอดจนได้ใช้ดัชนีรำคำของผลไม้แทนรำคำที่ขำย
ได้ของผลไม้แต่ละชนิด และพบว่ำผลกำรทดสอบเหมือนเดิมทั้งสองกรณี ดังนั้นจึงสำมำรถสรุปได้ว่ำ กำรเข้ำ
มำของจีนน่ำจะมีผลต่อรำคำทุเรียนและมังคุด แต่ไม่มีผลต่อรำคำในกรณีของล ำไย
4.2 กำรศึกษำกำรลงส ำรวจพื้นที่และกำรสัมภำษณ์เชิงลึก
นักวิจัยได้ท ำกำรส ำรวจและรวบรวมข้อมูลจำกปฐมภูมิด้วยกำรสัมภำษณ์เชิงลึกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
และกำรลงส ำรวจพื้นที่ (Field investigation) ผ่ำนควำมร่วมมือที่คณะผู้วิจัยมีกับเครือข่ำยองค์กรกำรเงิน
ชุมชนในจังหวัดจันทบุรีและตรำด เพื่อทรำบถึงสถำนภำพกำรลงทุนของผู้ประกอบกำรข้ำมชำติจีนในธุรกิจ
ผลไม้และห่วงโซ่อุปทำนในภำคตะวันออก โดยกำรศึกษำสถำนภำพกำรลงทุนของผู้ประกอบกำรข้ำมชำติใน
ห่วงโซ่อุปทำนสินค้ำเกษตรของไทยซึ่งเป็นแหล่งผลิตสินค้ำเกษตรที่ส ำคัญในพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ ระยอง
จันทบุรี และตรำด จะมีกำรตรวจสอบถึงรำยละเอียดกำรมีส่วนร่วมของผู้ประกอบกำรข้ำมชำติในจังหวัด
ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย 70 สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
ฝ่ำยเกษตร