Page 10 -
P. 10

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                      เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 งานวิจัยได้สร้างแบบจ าลองรูปแบบการสร้างรายได้ของคนใน

               หมู่บ้านซับเจริญโดยอาศัยหลักการของแบบจ าลองคณิตศาสตร์ตามความเป็นจริง ที่โดยทั่วไปแล้ว
               แบบจ าลองนี้นิยมใช้เพื่อหาผลกระทบของนโยบายทางการเกษตร ในหลักของการสร้างแบบจ าลอง

               คณิตศาสตร์ต้องประกอบไปด้วย 3 องค์ประกอบ คือ สมการวัตถุประสงค์ สมการข้อจ ากัด และกิจกรรม

               ทางเลือก งานวิจัยจึงมีแนวคิดในการสร้างแบบจ าลองที่จ าลองการหารายได้ของคนในหมู่บ้านซับเจริญ จาก
               ข้อจ ากัด และกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ในกรอบเวลา 1 ปี ดังนั้นแบบจ าลองจึงประกอบด้วยสมการ

               วัตถุประสงค์ในการหารายได้สุทธิสูงสุด ข้อจ ากัดในการสร้างรายได้ คือ จ านวนที่ดิน จ านวนแรงงาน และ

               จ านวนเงินทุน และกิจกรรมทางเลือกหรือในที่นี้เรียกว่ากิจกรรมสร้างรายได้แบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ

               คือ กิจกรรมการเพาะปลูก กิจกรรมแรงงานรับจ้าง กิจกรรมธุรกิจส่วนตัว และกิจกรรมการท างานต่างถิ่น


                       ในการสร้างแบบจ าลองงานวิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวความสัมพันธ์ของกิจกรรมการสร้างรายได้

               การใช้ทรัพยากรข้อจ ากัด และการได้มาซึ่งรายได้สุทธิตามวัตถุประสงค์จากข้อมูลการส ารวจในปี 2561 แล้ว

               น าข้อมูลเหล่านี้ไปใช้เพื่อสร้างแบบจ าลองลิเนียร์โปรแกรมมิ่งโดยให้มีข้อจ ากัดของจ านวนกิจกรรมสร้าง
               รายได้ที่เกิดจริงในพื้นที่ จากนั้นค านวณค่าปรับค่าซึ่งท าให้แบบจ าลองสามารถสะท้อนต้นทุนที่มองไม่เห็น

               ได้ จากนั้นน าค่าปรับค่าไปใส่ในสมการวัตถุประสงค์ของแบบจ าลองคณิตศาสตร์ตามความเป็นจริง

               แบบจ าลองที่ได้จากการค านวณและปรับค่าแล้วนี้ เรียกว่า แบบจ าลองพื้นฐาน ทั้งนี้แบบจ าลองพื้นฐานเป็น
               การจ าลองสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ดังนั้นจึงสามารถน ามาวิเคราะห์ผลกระทบจากนโยบายได้ด้วยการเปลี่ยนแปลงค่า

               สัมประสิทธิ์ในตัวแปรที่เกี่ยวข้องตามลักษณะของนโยบาย เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ว่าถ้าเกิดนโยบายจ าลอง

               เหล่านี้จะท าให้รายได้สุทธิของหมู่บ้าน กิจกรรมการสร้างรายได้ในและนอกภาคเกษตร การเลือกใช้
               ทรัพยากรที่ดิน และทรัพยากรแรงงาน เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ทั้งนี้งานวิจัยได้สมมุตินโยบายที่อาจเกิดขึ้น

               ในอนาคต โดยเลือกนโยบายที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับพื้นที่ และมีความเป็นไปได้ที่รัฐจะด าเนินการ 3 นโยบาย

               ดังนี้ นโยบายจ าลองที่ 1 ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ผันผวน แบ่งออกเป็น 3 กรณี คือ 1.1 กรณีที่ราคาข้าวโพด
               เลี้ยงสัตว์เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.61 หรือเท่ากับ 6.05 บาทต่อกิโลกรัม 1.2 กรณีที่ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลดลงร้อย

               ละ 14.61 หรือเท่ากับ 4.51 บาทต่อกิโลกรัม และ 1.3 กรณีที่ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพิ่มขึ้นเท่ากับ 7.78 บาท

               ต่อกิโลกรัม นโยบายจ าลองที่ 2 คือการส่งเสริมด้านการตลาดมะขามแกะฝัก และนโยบายจ าลองที่ 3 ค่าจ้าง

               แรงงานขั้นต ่าเปลี่ยนแปลงไป แบ่งออกเป็น 2 กรณีย่อย คือ 3.1 กรณีค่าจ้างแรงงานขั้นต ่าปรับเพิ่มเป็น 325
               บาทต่อวัน และ3.2 กรณีค่าจ้างแรงงานขั้นต ่าปรับเพิ่มเป็น 350 บาทต่อวัน
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15