Page 188 -
P. 188

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
          จารึกชีวิต




                             หุม (–) บ่เลิศลำ้า           กัญญา
                       หุมปากหุมเจียรจา                   ยิ่งแย้ม

                       หุมเห็นยิ่งหุมหา                   หนแห่ง อวลเอย่
                       หุมถามเงื่อนต้องแต้ม               ยอดแย้มไยพรหม

                       หุม–ชอบ รัก  ปาก–พูด  เจียรจา–เจรจา บาทสามว่ายิ่งเห็นยิ่งอยากที่จะ

          เสาะหาที่อยู่นาง

                       ถาม–น่าจะเป็นงาม ตัวอักษรพื้นเมืองคล้ายกัน  เงื่อน–ประหนึ่ง  ต้อง–แกะ

          สลัก  แต้ม–วาด ระบายสี

                ๑๔. ยนต์ทิพย์ เป็นโคลงคำาผวน ชนทุกชาติมีวิธีปล่อยอารมณ์แบบกวีซึ่งยังดีกว่าจะ
          สะกดไว้จนระเบิดออกในรูปความชั่วต่างๆ


                     โคลงอธิบาย

                             โคลงใดไวว่องปิ้น             โวหาร
                       มีชื่อยนต์ทิพย์ปาน                 ดั่งนั้น

                       แปรผวนแลกคำาหวาน                   หาง่าย งามเอย่
                       คำาแผกผิดปิ้นหั้น                  ด่าด้วยอักขร


                       ปิ้น–พลิกแพลง กลับ ผวน

                             แม่นี้เกล้าเกลี้ยงแม่        หวากหวี
                       ไปล่าพบเห็นหมี                     ป่าไม้

                       ไล่ตักนำ้าหดหมี                    กลางป่า โพ้นเอย่
                       หอยบ่หมีสังได้                     ไล่นำ้าหดหมี


                       หด–รด  โพ้น–โน้น  บ่หมี–ไม่มี  สัง–ทำาไม  หวาก–บาก กว้าง

                     ใจความว่า นางนี้หัวล้าน (สำานวนภาคเหนือว่าหัวหมด) แต่ยังใช้หวี ไปล่าสัตว์
          เลยไปพบหมีในป่า ต้องตักนำ้าไล่รดหมีไปกลางป่าโน้น หอย (ที่จะใช้ตักนำ้า) ก็ไม่มีทำาไมถึงได้

          วิ่งไล่รดนำ้าหมีอยู่อย่างนั้น

                     นอกจากโคลงที่มีในตำาราเดิม ๑๔ ชนิดแล้ว ยังมีโคลงกลบทอื่นๆ อีกดังต่อไปนี้











          186
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193