Page 19 -
P. 19
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เครื องเอก I
อารมณ์ของเพลง
เพลงลา มีอารมณ์เพลงที แสดงอารมณ์ของการสําเร็จ สิ"นสุด
การนําไปใช้งาน
เพลงลา ใช้ประกอบการแสดง ที มีการจัดทับ ขบวนเป็นที เรียบร้อยแล้ว
7. เพลง เสมอ
เพลงเสมอ เป็นเพลงที ใช้บรรเลงในการแสดงโขน ละคร ที แสดงถึงกิริยาไปมาใกล้ๆ
ประวัติเพลง
เพลงเสมอ เป็นเพลงหน้าพาทย์ประเภทหนึ ง มีการบรรเลงเพลงที ต้องมีรัวต่อท้ายทุกครั"ง ลักษณะ
เด่นของเพลงเสมอจะมีทํานองและชื อแตกต่างกันไปเพื อให้เหมาะสมกับตัวละครหรือโอกาส
(ราชบัณฑิตยสถาน, 2550: 183) ดังนี"
เพลงเสมอเถร ใช้สําหรับฤาษี นักพรต หรือพราหมณ์
เพลงเสมอมาร ใช้สําหรับอสูรผู้มีฤทธิ<
เพลงเสมอผี ใช้สําหรับผีหรือพญายม
เพลงเสมอเข้าที ใช้สําหรับเชิญฤาษีหรือครูเข้าสู่ที ประทับหรือกลับคืนสู่อาศรม
เพลงเสมอข้ามสมุทร ใช้ในพิธีไหว้ครูเพื ออัญเชิญครูอาจารย์เข้าสู่พิธีในการแสดง ใช้ในการ
เคลื อนทัพที เป็นขบวนและมีฤทธิ< เช่น ตอนพระรามยกพลข้ามสมุทรไปกรุงลงกา
เพลงเสมอสามลา ใช้เฉพาะการแสดงโขน เมื อตัวละครผู้สูงศักดิ<แสดงกิริยาเดินทางใกล้ๆ มี
15 ไม้เดิน ต่างจากเสมอธรรมดาที มีเพียง 5 ไม้เดิน ในพิธีไหว้ครูใช้บรรเลงเมื อพระภรตฤาษีเข้าสู่บริเวณพิธี
ประวัติผู้แต่ง
ไม่ทราบผู้แต่งชัดเจน
หน้าทับเพลง
หน้าทับสองไม้
อารมณ์ของเพลง
เพลงเสมอ มีอารมณ์เพลงที ครึกครื"น สนุกสนาน
การนําไปใช้งาน
เพลงเสมอใช้ประกอบกิริยาการแสดงของตัวละครที มีการเดินทางระยะใกล้
8.เพลง รัวลาเดียว
เพลงรัวลาเดียว เป็นเพลงที ใช้บรรเลงประกอบการแสดงโขน ละคร ในตอนที มีการเปลี ยนแปลงที
สําคัญ เช่น การร่ายมนตร์ การแสดงนิมิตต่างๆ
12