Page 14 -
P. 14

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                   เครื องเอก I



                                                    เพลงหน้าพาทย์



               ประว้ติของเพลงหน้าพาทย์



                       เพลงหน้าพาทย์ คือ เพลงที ใช้บรรเลงเพื อประกอบกิริยา อารมณ์ของตัวละครในการแสดงต่างๆ เช่น

               การแสดงโขน หรือใช้เพลงหน้าพาทย์เพื อบรรเลงประกอบพิธีไว้ครู ครอบครูดนตรีไทยและนาฏศิลป์  และ
               พิธีที เป็นมงคลอื นๆ

                       ข้อสังเกตหนึ งของเพลงหน้าพาทย์คือ ถือว่าเพลงหน้าพาทย์เป็นเพลงที มีความศักดิ<สิทธิ< และเป็น

               เพลงชั"นสูง จึงมักจะบรรเลงเพลงหน้าพาทย์ตามขนบของการบรรเลงดนตรีไทยดั"งเดิม ไม่นิยมดัดแปลง

               เพลงหน้าพาทย์หรือแต่งเติมเพลงอย่างกับเพลงบรรเลงอื นทั วไป


               ประเภทของเพลงหน้าพาทย์



                       เพลงหน้าพาทย์ที ใช้สําหรับการแสดงโขน ละคร แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ เพลงหน้าพาทย์

               ธรรมดา เพลงหน้าพาทย์ชั"นกลาง และเพลงหน้าพาทย์ชั"นสูง ดังรายละเอียดต่อไปนี"


                       1.เพลงหน้าพาทย์ธรรมดา

                       เพลงหน้าพาทย์ธรรมดา หรือเพลงหน้าพาทย์ปกติ เป็นเพลงที ใช้บรรเลงประกอบพิธีไหว้ครูหรือ

               ครอบครู เพลงโหมโรงต่างๆ ประกอบการแสดงทั วไป เช่น เพลงช้าเพลงเร็ว เชิด เสมอ รัว ลา โอด กราว
               ปฐม โล้ เหาะ ทยอย ชุม เป็นต้น

                       2. เพลงหน้าพาทย์ชั2นกลาง

                       เพลงหน้าพาทย์ชั"นกลาง เป็นเพลงที ใช้สําหรับผู้แสดงโขน ละครที เป็นตัวเอกหรือที มียศสูงศักดิ<
               เพื อแสดงอิทธิฤทธิ<การแปลงกาย เช่น ตระนิมิตร สาธุการ ตระบองกัน ชํานาญ เป็นต้น

                       3. เพลงหน้าพาทย์ชั2นสูง

                       เพลงหน้าพาทย์ชั"นสูง หรือเพลงหน้าพาทย์พิเศษ เป็นเพลงที ใช้บรรเลงในโอกาสพิเศษ เฉพาะผู้ที

               แสดงเป็นตัวละครเอกประเภทโขน ละคร เพื อประกอบการแสดงอิธิฤทธิ<ปาฏิหารย์ การแปลงกาย การร่าย
               มนต์คาถา ชุบชีวิตผู้ตายให้ฟื"นขึ"น เช่น พราหมณ์เข้า เสมอสามลา รัวสามลา บาทสกุณี ดําเนินพราหมณ์

               เสมอเถรเสมอมาร เสมอผี ฯลฯ ตลอดจนใช้ประกอบพิธีไว้ครู เช่น ตระเชิญ ตระพระประคนธรรพ ตระ

               นารายณ์บรรทมสินธุ์ ตระสันนิบาต และโปรยข้าวตอก เป็นต้น










                                                                                                            7
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19