Page 16 -
P. 16
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เครื องเอก I
มนุษย์และได้ท้าทายพระพุทธเจ้าประลองฤทธิ<ด้วยวิธีการที พระอิศวรไปซ่อนตามที ต่างๆ ถึง 3 ครั"ง คือ ครั"ง
แรก พระอิศวรไปซ่อนที ยอดพรหมพิมาณ ครั"งที 2 พระอิศวรเสด็จไปอยู่ใต้บาดาล ครั"งที 3 พระอิศวรก็ทรง
ไปยังยมโลก ซึ งทั"งสามครั"งนั"น องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ทรงทราบด้วยพระญาณ เมื อถึงครั"ง
ของพระพุทธเจ้าซ่อนบ้าง ก็ทรงนิมิตกลายเป็นฝุ่น อยู่บนปลายผมของพระอิศวร พระอิศวรก็หาไม่เจอ จึงทํา
ให้พระอิศวรยอมแพ้ แต่ยังแสดงทิฐิอยู่ เพื อที จะให้ทิฐิคลายลง พระพุทธเจ้าก็ทรงบอกพระอิศวรให้นําดนตรี
มาบูชา เพลงสาธุการ เพื ออัญเชิญพระองค์มาจากผมของพระอิศวร
จากเรื องเล่านี"จึงเป็นที มาของเพลงสาธุการ
ผู้แต่ง
ไม่ทราบผู้แต่งชัดเจน
หน้าทับเพลง
หน้าทับสาธุการ (หน้าทับพิเศษ)
อารมณ์เพลง
เพลงสารู้สึกถึงความศักดิ<สิทธิ<
การนําไปใช้
ใช้เวลาที มีงานอัญเชิญเทวดามาร่วมพิธีที ศักดิ<สิทธิ< เช่นงานไหว้ครู งานบรวงสรวง อีกทั"งยังใช้เพลง
สาธุการเป็นเพลงประจํากัณฑ์ทศพรด้วย
2. เพลง ตระหญ้าปากคอก
เพลงตระหญ้าปากคอก เป็นเพลงที ใช้บรรเลงเพื ออัญเชิญสิ งศักดิ<สิทธิ<ทั"งหลายใหมาร่วมชุมนุมเพื อ
ประสิทธิ<ประสาทพรในงานที จัดขึ"น
ประวัติของเพลงตระหญ้าปากคอก
เพลงตระหญ้าปากคอก หรือในเพลงชุดโหมโรงเย็นจะเรียกว่า “เพลงตระโหมโรง” จัดเป็นเพลง
หน้าพาทย์ชั"นสูง อัตราจังหวะสามชั"น สําหรับใช้ประกอบกิริยาของตัวละครตามอารมณ์ และโอกาสที
แตกต่างกัน เช่น ตระพระประคนธรรพ ตระนิมิต ตระนารายณ์บรรทมสินธุ์ เป็นต้น เพลงตระหญ้าปากคอก
อยู่ในชุดเพลงตระโหมโรงยังจําแนกออกเป็นเพลงตระต่าง ๆ ได้อีกหลายเพลง เช่น ตระหญ้าปากคอก ตระ
มารละม่อม และตระปลายพระลักษณ์ เป็นต้น
เพลงตระหญ้าปากคอกเป็นเพลงซึ งนักดนตรีแต่งขึ"นประกอบในชุดโหมโรงเย็นและใน เพลงเรื อง
เตร็ด
ผู้แต่ง
ไม่ทราบผู้แต่งอย่างชัดเจน
หน้าทับเพลง
หน้าทับพิเศษ
9