Page 20 -
P. 20
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เครื องเอก I
ประวัติเพลง
เพลงรัวลาเดียว เป็นเพลงหน้าพาทย์สามัญ
ประวัติผู้แต่ง
ไม่ทราบผู้แต่งชัดเจน
หน้าทับเพลง
หน้าทับรัว
อารมณ์ของเพลง
เพลงรัวลาเดียว มีอารมณ์เพลงที แสดงอารมณ์ฮึกเหิม
การนําไปใช้งาน
เพลงรัวลาเดียว ใช้ในการแสดงตอนร่ายเวทมนต์ หรือแปลงกาย
9.เพลง เชิด
เพลงเชิด เป็นเพลงที ใช้ประกอบการแสดงโขน ละคร ตอนที แสดงกิริยา เช่น การแสดงกิริยาเร่งรีบ
การเดินทางระยะไกล ๆ หรือมีการสู้รบกัน
ประวัติเพลง
เพลงเชิดเป็นเพลงหน้าพาทย์สามัญ ที มีลักษณะและชื อเรียกต่างๆกัน (ราชบัณฑิตยสถาน, 2550:
173-174) ดังนี"
เพลงเชิดกลอง ใช้กลองทัดตีสลับกับตะโพนกํากับจังหวะ มีท่วงทํานองรุกเร้า น่าตื นเต้น
ใช้ในการเทศน์มหาชาติเป็นเพลงประจํากัณฑ์มหาพน
เพลงเชิดฉิ ง ใช้ฉิ งตีกํากับจังหวะ ไม่ใช้กลองทัด บรรเลงประกอบกิริยาไปมา
เพลงเชิดฉาน ใช้บรรเลงประกอบกิริยาไล่ตามหรือจับสัตว์ของผู้มีฤทธิ<ใช้เฉพาะกับตัว
พระ เช่น ในการแสดงโขนตอนพระรามตามกวาง ปัจจุบันใช้บรรเลงในพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนา
ขวัญ
เพลงเชิดนอก ใช้บรรเลงประกอบกิริยาไล่จับและต่อสู้กันระหว่างสัตว์กับสัตว์ เช่น ใน
การแสดงโขนตอนหนุมานจับนางเบญจกาย ตอนหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา
ประวัติผู้แต่ง
ในส่วนของเพลงเชิด ที มีสําเนียงภาษาต่างๆ พบผู้แต่งดังนี"
เพลงเชิดแขก ครูมนตรี ตราโมทเป็นผู้แต่ง
เพลงเชิดมอญ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เป็นผู้แต่ง
เพลงเชิดจีน ตัว 3 พระประดิษฐไพเราะ (มี ดุริยางกูร หรือ ครูมีแขก) เป็นผู้แต่ง ซึ งใช้ใน
การแสดงด้วย
13