Page 51 -
P. 51

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                                                                              เทคโน เกษตร
                   โดย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราพร ภุมรินทร์
                   คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกตร
                   มหาวิทยาลัยศิลปากร
                   noopoommarin@hotmail.com                                      เป็นสิ่งที่ช่วยให้สัตว์สามารถใช้ประโยชน์
                   โดย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เชิดพงษ์ ขีระจิตต์                จากสารอาหารในวัตถุดิบได้ดีและส่งผลถึง
                   ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร
                   คณะเกษตร ก�าแพงแสน                                            ประสิทธิภาพการเจริญเติบโตที่ดีด้วย การ
                   มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์                                        ใช้เชื้อแบคทีเรียบาซิลลัส ซับทีลิส ผสมลง
                   agrcpk@ku.ac.th
                                                                                 ในอาหารสุกรจึงเป็นการกระตุ้นภูมิต้านทาน
                 สุกรเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่ส�าคัญ สารพัดอย่าง ซึ่งเป็นปัจจัยหลักต่อการด�ารง ต่อโรค เพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยให้แก่
          ส�าหรับประเทศไทย  จนกลายมาเป็น ชีวิตและเสริมสร้างการเจริญเติบโตของสุกร สัตว์ และมีส่วนช่วยในการเผาผลาญ
          อุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรที่สามารถส่งเนื้อ     สุกรในแต่ละระยะมีความ            ดังนั้น การจัดท�าการทดลอง
          สุกรออกจ�าหน่ายทั้งภายในประเทศ และ  ต้องการสารอาหารที่แตกต่างกัน ในสุกร ครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบการ
          ต่างประเทศ โดยความต้องการเนื้อสุกร  รุ่นเป็นสุกรที่อยู่ในช่วงหลังหย่านมก่อน เสริมบาซิลัส  ซับทีลิส  (Bacillus sp.)
          ของไทยมีอัตราที่เพิ่มขึ้นในทุกปี ประมาณ   จะเข้าสู่สุกรขุน ในระยะนี้จึงต้องให้ความ ในอาหารสุกร  และประเมินผลต่อ
          0.92% ต่อปี (อัจฉรา ไอยรากาญจนกุล,   ส�าคัญกับการให้อาหารเป็นอย่างมาก ระดับ ประสิทธิภาพการเจริญเติบโตในสุกรระยะ
          2560) ผลผลิตเหล่านี้ก่อให้เกิดอาชีพและ  ของโปรตีนในอาหารสุกรในช่วงนี้ก็ยังต้อง รุ่น ทั้งนี้ผลจากการทดลองจะถูกน�าไปใช้เป็น
          การสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร และชุมชน   ค�านึงให้มาก เพราะโปรตีนที่ไปสร้างเป็น ข้อมูลสนับสนุนให้ผู้เกี่ยวข้องในการเลือกใช้
          ทั้งนี้เนื่องจากสุกรเป็นสัตว์ที่เลี้ยงดูง่าย   เนื้อแดงจะต้องมาจากอาหาร การส่งเสริม ผลิตภัณฑ์ในอาหารสุกรระยะรุ่นต่อไป
          ขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว สามารถกินอาหารได้   ประสิทธิภาพที่ดีแก่ระบบทางเดินอาหาร


































           วิธีด�าเนินการวิจัย
                                             มีทั้งหมด คือ กลุ่มอาหารควบคุมที่ไม่ใช้ หลังจากนั้นน�ามาหักลบกับปริมาณอาหาร
                 การด�าเนินการวิจัยในครั้งนี้ ได้ บาซิลัส ซับทิลิส และกลุ่มอาหารที่ใช้บา ที่สุกรกินเหลือในแต่ละวัน เพื่อที่จะทราบ
         ท�าการทดลองในสุกรรุ่นพันธุ์ ลาร์จไวน์ ×  ซิลัส ซับทิลิส ที่ระดับ 0.05% ด�าเนินการ ปริมาณอาหารที่สุกรกินไป โดยท�าการเก็บ
         แลนด์เลซ × ดูรอค เพศผู้และเพศเมีย มี เก็บข้อมูล โดยท�าการแยกเพศและชั่งน�้า บันทึกข้อมูลอัตราการเจริญเติบโต (Growth
         ทั้งหมด 48 ตัว แบ่งออกเป็น 24 คอก คอก หนักสุกรรุ่นทุกตัว และแบ่งเข้าคอก แต่ละ Rate) การเพิ่มน�้าหนักตัวต่อวัน (Average
         ละ 2 ตัว โดยน�้าหนักสุกรรุ่นประมาณ 25  คอกจะมี 2 ตัว (เพศเมีย 1 ตัว และเพศ Daily Gain: ADG) อัตราการกินได้เฉลี่ยต่อ
         กิโลกรัม โดยใช้แบคทีเรียบาซิลัส ซับทิลิส  ผู้ 1 ตัว) จ�านวน 24 คอก จากนั้นจึงจัดท�า วัน (Feed Intake per Day) ประสิทธิภาพ
         ผสมในสูตรอาหารสุกรระยะรุ่น ทดลองโดย อาหารส�าหรับการทดลองโดยการให้น�้า และ การเปลี่ยนอาหารเป็นน�้าหนักตัว (Feed
         ใช้แผนการทดลองแบบสุ่มบล็อคสมบูรณ์  อาหารแบบไม่จ�ากัด แบ่งการให้เป็น 2 ช่วง conversion ratio) และต้นทุนค่าอาหาร
         (randomized complete Block design  เวลาคือเช้า 06.00 น. เย็น 16.00 น. ท�าการ (Feed Cost per Gain)
         : RCBD) มีทั้งหมด 2 กลุ่มการทดลอง กลุ่ม ทดลองเป็นระยะเวลา 30 วัน โดยท�าการ
         การทดลองละ 12 ซ�้า จ�านวนหน่วยทดลอง ชั่งอาหารก่อนที่จะให้สุกรกินในแต่ละวัน

                                                                                            มกราคม-เมษายน 2562 เกษตรอภิรมย์  51
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56