Page 46 -
P. 46

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
            เทคโน เกษตร                                                               โดย : ทวีพร เรืองพริ้ม

                                                                              ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร ก�าแพงแสน
                                                                                       มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                                                                      โดย : วิสูตร ไมตรีจิตต์
                                                                              ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร ก�าแพงแสน
                                                                                       มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                                                                      โดย : ณชัย ศราธพันธุ์
                                                                              ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร ก�าแพงแสน
                                                                                       มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
















                 GenBank เป็นฐานข้อมูลล�าดับเบสของนิวคลีโอไทด์ของยีน และส่วนของดีเอ็นเอที่ไม่ใช่ยีน ของ National Center
          for Biotechnology Information (NCBI) ของสถาบันสุขภาพแห่งชาติNational Institute of Health (NIH) ใน
          สหรัฐอเมริกา ที่ท�าการรวบรวมให้ค�าจ�ากัดความล�าดับเบสของดีเอ็นเอเป็นสาธารณะภายใต้ชื่อGenBank®ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง
          ของฐานข้อมูลล�าดับนิวคลีโอไทด์ระหว่างประเทศ (International Nucleotide Sequence Database Collection)
          ประกอบด้วยฐานข้อมูลดีเอ็นเอของญี่ปุ่น (DNA DataBank of Japan, DDBJ) ฐานข้อมูลนิวคลีโอไทด์ของยุโรป
          (European Nucleotide Archive, ENA) ฐานข้อมูล GenBank® จะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันทุกวันและน�าออกเผย

          แพร่ทุกสองเดือนซึ่งจะหาได้ในเว็บไซต์ต่อไปนี้https://www.ncbi.nlm.nih.gov/nucleotide/,http://www.genome.jp/
          และ http://www.ebi.ac.uk/ena

           รูปแบบพันธุกรรม
                                                   รูปแบบทางพันธุกรรม ตรงกับภาษาอังกฤษว่า genotype หมายถึงลักษณะองค์
                                            ประกอบของยีน (Gene) ของสิ่งมีชีวิต และสามารถถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังรุ่นต่อๆ ไปได้

                                            ยีน คือ ส่วนหนึ่งของสายดีเอ็นเอที่สามารถถอดรหัสได้เป็นเอ็มอาร์เอ็นเอ มาแปรรหัสเป็นสาย
                                            โพลีเปปไตต์ได้หนึ่งสายดีเอ็นเอ เป็นชื่อย่อของกรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิคมีโครงสร้างโมเลกุล
                                            ประกอบด้วยหลายๆหน่วยของนิวคลีโอไทด์ ซึ่งหนึ่งหน่วยนิวคลีโอไทด์ประกอบด้วย ไนโตรเจน
                                            เบสซึ่งมี 4 ชนิดได้แก่ กัวนีน(G) ไซโตซีน(C) ไธมีน(T) และอะดีนีน(A) น�้าตาลที่มีคาร์บอน 5
                                            อะตอม และ กลุ่มฟอสเฟตที่เชื่อมต่ออีกหนึ่งนิวคลีโอไทด์เป็นสายเดี่ยวดีเอ็นเอในธรรมชาติ
                                            ดีเอ็นเอจะมีโครงสร้างเป็นเกลียวคู่เกาะยึดกันด้วยเบสคู่สม ได้แก่
                                            กัวนีน(G) และไซโตซีน(C) เกาะยึดกันด้วย3 พันธะ

                                            ไฮโดรเจนส่วนไธมีน(T) และอะดีนีน(A) เกาะยึดกัน
       รูปที่ 1 แสดงโครงสร้างของดีเอ็นเอเป็นเกลียวสายคู่  ด้วย 2 พันธะ ซึ่งเป็นโครงสร้างที่มีความเสถียรที่สุด
       ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์หลายๆหน่วย
          พันธุกรรมสายพ่อ



              เครื่องหมายบนวายโครโมโซม มีความส�าคัญในการสร้างประวัติสายสัมพันธ์และพื้นที่อยู่อาศัย
       ของสัตว์ตัวผู้ อัตราการวิวัฒนาการของยีนบนโครโมโซมวายจะเร็วกว่ายีนบนโครโมโซมเอ็กซ์ (Shimmin   รูปที่ 2 แสดงต�าแหน่งของ
       et al., 1993, Huang et al., 1997)  ยีนบนโครโมโซมวาย20ยีน ซึ่ง 55 เปอร์เซ็นต์เกี่ยวข้องกับการ  ยีนต่างๆ อยู่บนโครโมโซม
       เจริญเติบโตของอัณฑะและการสร้างตัวอสุจิ (Lahn and Page 1997)  ยีน Zinc finger protein of      X และ Y
       chromosome Y (ZFY) บนโครโมโซมวายที่บริเวณที่ไม่มีการรวมตัวกันขณะผสมพันธุ์ และยังไม่ทราบ   ที่มา : http://www.cell.com/trends/genetics/
       หน้าที่แน่ชัดแต่ก็เป็นยีนที่น่าสนใจซึ่งมีบทบาทในการเจริญเติบโตของเพศผู้          fulltext/S0168-9525(11)00005-9


        46   เกษตรอภิรมย์ มกราคม-เมษายน 2562
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51