Page 48 -
P. 48
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มาจากประเทศอะไร เป็นส่วนของยีนอะไร สุดท้ายแสดงล�าดับเบส นอกจากนี้ ยังพบกระบือปลัก 7 ตัว จากจังหวัดพะเยา (H16) จังหวัด
เป็นแถวๆละ 60 เบส ภูเก็ต 6 ตัว (H28, H29, H33) จัดอยู่ใน lineage B2 ซึ่งเป็น lineage
ผลการจัดหมวดหมู่ทางพันธุกรรมสายแม่ (D-loop) จาก ย่อยใหม่ที่ยังไม่มีรายงานในกระบือปลักไทย
ตัวอย่างกระบือปลักปกติจากประเทศไทย จีน ฟิลิปปีนส์ ควายป่า เป็นที่น่าสังเกตุกระบือในสายแม่ A มีกระบือปลักจีน
ห้วยขาแข้ง กระบือแม่น�้าที่ทราบหมายเลขยีน และกระบือปลักปกติ Fuling, Anhui และกระบือ
กระบือปลักแคระที่พบรูปแบบทางพันธุกรรมใหม่ (หมายเลขยีน ปลักไทยชื่อ แสน มีพันธุ์
อักษรสีแดง) ที่น�าส่งเข้าไปเก็บไว้ใน GenBankแล้ว ผลปรากฏว่า กรรมสายแม่ (D-loop)
กระบือที่ท�าการศึกษาทั้งสิ้น 35 ตัว สามารถจ�าแนกได้เป็น 2 node เหมือนกัน และกระบือ
ซึ่ง node 1 ประกอบด้วยกระบือปลักและกระบือแม่น�้า ส่วน node ปลักจีนจากยูนานมีพันธุ์
2 เป็น กระบือแคระ 4 ตัว ซึ่งจัดเป็นรูปแบบพันธุกรรม(haplotype) กรรมสายแม่ (D-loop)
H17, H22, H25 และH26 เหมือนกับกระบือปลัก
กระบือปลักสามารถจ�าแนกได้เป็น 2 สายแม่ (Lineage) จากจังหวัดน่านหนึ่งตัว
คือ lineage A และ lineage B ซึ่ง lineage A เป็นประชากรกระบือ (H14) ส่วนกระบือใน
ปลักเป็นส่วนใหญ่มากกว่า lineage B กระบือปลักส่วนใหญ่และ สายแม่ B1 กระบือปลัก
กระบือแคระ (H23, H24, H27)3 ตัวจัดจ�าแนกอยู่ใน lineage A1 จีน Dechang มีพันธุ์กรรม
มีกระบือแคระ 2 ตัว (H18, H21) จัดอยู่ใน lineage A2 สายแม่ (D-loop) เหมือน
กระบือปลักใน lineage B แบ่งเป็น lineage B1 ซึ่งประกอบ กับกระบือปลักไทยชื่อ รูปที่ 6 แสดงผลการจัดหมวดหมู่ทางพันธุกรรม
ด้วยกระบือพ่อพันธุ์ชื่อดาวรุ่งซีพี (KC817489) กระบือปลักจีน ดาวรุ่ง ดังแสดงในรูปที่ 6 สายแม่ (D-loop )จากตัวอย่างกระบือปลักปกติ
(Dechang EF053642, Jianghan EF053550) กระบือปลักน่าน และกระบือปลักแคระที่พบรูปแบบทางพันธุกรรม
(H15) กระบือปลักภูเก็ต (H31) และกระบือแคระ 2 ตัว (H19) ใหม่ (หมายเลขยีน อักษรสีแดง) และน�าส่งเข้าไป
เก็บไว้ใน GenBank
การวิเคราะห์วิวัฒนาการของกระบือ
่
ประโยชน์ทีได้รับจากการศึกษายีน D-loop
การวิเคราะห์วิวัฒนาการของกระบืออาศัยพันธุกรรม
สายแม่ (D-loop) มาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม Network 5.0 จะ 1. จัดหมวดหมู่กระบือพันธุกรรมที่ถ่ายทอดมาจากแม่ส�าหรับการ
เห็นจุดแยก (Ancestral node) ของกระบือปลักสายแม่ A, B และ จัดการผสมพันธุ์ในการอนุรักษ์สายพันธุ์
กระบือแม่น�้า ตัวอักษรสีแดง (CH) หมายถึงเบสของ D-loop ที่ 2. ศึกษาวิวัฒนาการของกระบือ รวมทั้งการเคลือนย้ายประชากร
ไม่เหมือนกันจากตัวอย่างที่ท�าการศึกษา จะเห็นได้ว่ากระบือปลัก กระบือไปยังประเทศต่างๆโดยดูความเหมือนของพันธุกรรมสายแม่
ไทยสายแม่ B มีการเปลี่ยนแปลง (mutation) จ�านวน 3 เบส ซึ่ง 3. ใช้พิสูจน์สายสัมพันธุ์ในครอบครัวทางอณูนิติวิทยาศาสตร์ในคดีลัก
น้อยกว่ากระบือปลักไทยสายแม่ A และกระบือแม่น�้า ขโมยกระบือ กระบือหลงฝูง
ส่วนควายป่าห้วยขาแข้งตัวหนึ่ง (Wild buffalo) ที่จัด สรุปการเก็บตัวแทนรูปแบบพันธุกรรมสายพ่อ แม่ ที่ GenBank
อยู่ในพันธุกรรมสายแม่ A1 มีวิวัฒนาการมาก่อนกระบือปลักไทย เพื่อเป็นหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ว่ากระบือปลักไทยซึ่งเป็นสัตว์ประจ�า
จีน ฟิลิปปีนส์ และกระบือปลักแคระไทย ดังแสดงในรูปที่ 7 ถิ่นของประเทศไทย ถึงแม้ว่าจะมีการเคลื่อนย้ายอพยบถิ่นฐานไปที่ได
ก็สามารถสืบพันธุกรรมของบรรพบุรุษได้ นอกจากนี้ ข้อมูลที่เก็บใน
GenBank เป็นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์เผยแพร่เป็นสาธารณะ เกษตรกร
นักวิชาการ นักศึกษา สามารถส่งข้อมูลไปฝากไว้เพื่อเผยแพร่ได้ และ
สามารถสืบค้นได้ทุก 24 ชั่วโมงในประเทศไทยเก็บตัวแทนรูปแบบ
พันธุกรรมสายพ่อ แม่ กระบือปลักไว้แล้ว เป็นสายพ่อ 4 รูปแบบ สายแม่
10 รูปแบบ และจากงานวิจัยที่ได้รับทุนจากส�านักงานพัฒนาการวิจัย
การเกษตรอีก 23 รูปแบบ ท�าให้ขณะนี้เมื่อน�าข้อมูลรูปแบบพันธุกรรม
สายแม่ของกระบือปลักไทยมาเปรียบเทียบกับกระบือปลักต่างประเทศ
พบว่ากระบือปลักสายแม่ A ของจีน Fuling, Anhui และกระบือปลัก
ไทยชื่อแสน มีพันธุ์กรรมสายแม่ เหมือนกันและกระบือปลักจีนจากยู
นานมีพันธุ์กรรมสายแม่เหมือนกับกระบือปลักจากจังหวัดน่านหนึ่งตัว
รูปที่ 7 แสดงผลการวิเคราะห์วิวัฒนาการของกระบืออาศัยพันธุกรรม ส่วนกระบือปลักในสายแม่ B1 กระบือปลักจีน Dechang มีพันธุ์กรรม
สายแม่(D-loop)มาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม Network 5.0 สายแม่เหมือนกับกระบือปลักไทยชื่อ ดาวรุ่ง กระบือปลักในเอเชียน่า
48 เกษตรอภิรมย์ มกราคม-เมษายน 2562 มาจากสายบรรพบุรุษเดียวกัน Service Info c 0 1 3