Page 50 -
P. 50
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การบริโภคไก่พื้นเมืองในประเทศไทย ตารางสถิติจ�านวนไก่พื้นเมืองที่มีการเลี้ยงมากที่สุด 5 ล�าดับแรก (จังหวัด)
การเลี้ยงไก่พื้นเมืองในประเทศไทย ล�าดับที่ จังหวัด ไก่พื้นเมือง
ส่วนใหญ่ยังเป็นไปในลักษณะแบบครัวเรือน จ�านวน(ตัว) ร้อยละ
มุ่งเน้นการบริโภคเป็นหลัก การที่เกษตรกรมีการ 1 นครราชสีมา 8,485,558 9.55
เลี้ยงไก่พื้นเมืองเนื่องจากประโยชน์ 5 ประการ 2 อุบลราชธานี 2,876,384 3.24
คือ 1) เป็นแหล่งอาหารโปรตีนของชาวบ้านใน 3 นครปฐม 2,681,165 3.02
ชนบทที่มีราคาถูก หาง่าย และสะดวก 2) เป็น 4 เชียงราย 2,479,388 2.79
รายได้เสริมแบบกระแสรายวันของครอบครัว
เกษตรกร 3) เนื้อของไก่พื้นเมืองมีรสชาติดี เนื้อ 5 สุรินทร์ 2,476,123 2.79
แน่น และไขมันน้อย ท�าให้ไก่พื้นเมืองมีราคาสูง ที่มา : กรมปศุสัตว์ (2560)
กว่าไก่กระทง 4) ไม่ต้องใช้เทคนิคสูง และมีราคา
ที่สูงกว่าไก่ในฟาร์ม และ 5) สอดคล้องกับระบบ
การเกษตรแบบผสมผสาน หรือแบบไร่นาสวน
ผสม (ส�านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2558)
ซึ่งในอดีตการบริโภคไก่ในชีวิตประจ�า
วันของเกษตรกรมีน้อย การบริโภคไก่เป็นสิ่งที่
พบเห็นได้ในโอกาสพิเศษเท่านั้น แต่ในปัจจุบัน
การบริโภคไก่ในชีวิตประจ�าวันมีมากขึ้น แต่มี
ความแตกต่างกันในแต่ละชุมชน กล่าวคือ ชุมชน การตลาดไก่พื้นเมืองในประเทศไทย
ที่ค่อนข้างเป็นสังคมเมืองจะมีการบริโภคไก่เฉลี่ย
6 ตัว / ครัวเรือ / เดือน แต่ในขณะที่ชุมชนที่มี ในห่วงโซ่อุปทานการผลิตเนื้อไก่ในประเทสไทย เริ่มจากต้นน�้าคือ
วิถีชีวิตแบบชนบท มีการบริโภคไก่เฉลี่ย 1 ตัว / เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ สู่โรงฆ่าช�าแหละ เข้าสู่กระบวนการผลิต การแปรรูป
ครัวเรือน / เดือน โดยชนิดของอาหารที่นิยมน�าไก่ ผลิตภัณฑ์ และการกระจายผลผลิตสู่ผู้บริโภค โดยผลตอบแทนจากการผลิต
ไปปรุงเป็นอาหาร หรือบริโภค ได้แก่ ต้มย�า ย่าง ไก่เนื้อมีชีวิต คือ 6.08 บาท/กก. เมื่อผ่านกระบวนการฆ่าและช�าแหละที่ได้
อบ แกงอ่อม และลาบ ตามล�าดับ ส�าหรับความ มาตรฐานจะมีมูลค่าเพิ่มขึ้นอีก 10.75 บาท/กก. เมื่อผ่านกระบวนการแปรรูป
พึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อเนื้อไก่พื้นเมือง พบ และจ�าหน่ายในประเทศ จะมีมูลค่าเพิ่ม 5.54 บาท/กก.(ส�านักงานเศรษฐกิจ
ว่า ผู้บริโภคมีความพึงพอใจในด้านความแน่น อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, 2558) จากห่วงโซ่ดังกล่าว การพัฒนา
ของเนื้อไก่และกลิ่นหอมของไก่ขณะเคี้ยว มาก และแปรรูปผลิตภัณฑ์จะต้องอาศัยองค์ความรู้ในการผลิต มีกระบวนการผลิต
ที่สุด ขณะที่ผู้บริโภคบางรายเห็นว่าไก่พื้นเมือง ที่ปลอดภัย และกระบวนการควบคุมคุณภาพที่ได้มาตรฐานส่งผลให้ราคา
มีเนื้อที่แห้ง และเนื้อน้อย (ชูศักดิ์ ประภาสวัสดิ์ หรือมูลค่าของผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นในทุกขั้นตอน หากเกษตรกรสามารถมีระบบ
และคณะ, 2556) การบริหารจัดการการแปรรูปผลิตภัณฑ์ และการตลาดที่ดีย่อมสามารถเพิ่ม
ส�าหรับคุณภาพเนื้อไก่ของไก่พื้นเมือง รายได้ให้กับเกษตรกรมากกว่าการจ�าหน่ายไก่มีชีวิตเพียงอย่างเดียว ก่อให้
และไก่พื้นเมืองลูกผสม พบว่า ไก่พื้นเมือง เกิดการสร้างอาชีพที่มั่นคงให้แก่เกษตรกร และชุมชน
ลูกผสมดีกว่าไก่เนื้อในแง่รสชาติ และสุขภาพ ปัจจุบันไก่พื้นเมืองมีโอกาสทางการตลาดสูง สามารถสร้างรายได้
ของผู้บริโภค เนื่องจากเนื้อมีความเหนียว นุ่ม และเพิ่มมูลค่าจากการมีจุดเด่นที่แตกต่างจากไก่ Broiler ทั้งคุณภาพ และ
เปอร์เซ็นต์โปรตีน และสัดส่วนระหว่างกรด คุณค่าอื่น เช่น รสชาติ ความอร่อย ระบบการผลิตที่ปลอดภัย เป็นมิตรกับ
ไขมันไม่อิ่มตัวต่อกรดไขมันอิ่มตัว สิ่งแวดล้อม มีโภชนาการสูง สามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายตอบ
ในเนื้อสูง แต่มีคลอเลสเตอรอล สนองความต้องการของผู้บริโภคทุกกลุ่ม
ต�่ากว่า ซึ่งเป็นผลดีต่อสุขภาพ Service Info c 0 1 4
ผู้บริโภค (เกรียงไกร โชประการ,
2551)
50 เกษตรอภิรมย์ มกราคม-เมษายน 2562