Page 49 -
P. 49

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                                                                              เทคโน เกษตร


                ส�าหรับประเทศไทย การเลี้ยงไก่แบบดั้งเดิมเกษตรกรราย  โดย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราพร ภุมรินทร์
         ย่อยมักประสบปัญหาในการเข้าถึงแหล่งเงินลงทุนการขาดสภาพ                   คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกตร
                                                                                            มหาวิทยาลัยศิลปากร
         คล่องในเงินทุนหมุนเวียนการขาดความรู้ในระบบการเลี้ยงที่ได้                  noopoommarin@hotmail.com
         มาตรฐาน นอกจากนี้ยังต้องรับความเสี่ยงจากการเกิดโรคระบาด

         คุณภาพเนื้อไก่ที่ไม่ได้มาตรฐานความผันผวนของราคาอาหารสัตว์
         และราคาผลผลิตไก่เนื้อในตลาด ซึ่งปัญหาเหล่านี้อาจส่งผลต่อราย
         ได้ของเกษตรกร ดังนั้นการวางระบบการผลิตให้ได้มาตรฐาน และ

         การรับรองมาตรฐานการผลิตได้ถูกน�ามาใช้ในการพัฒนาระบบการ
         เลี้ยงไก่ของเกษตรกร การสนับสนุนด้านการบริหารจัดการระบบ
         เทคโนโลยี และการควบคุมมาตรฐานการเลี้ยงอย่างมีประสิทธิภาพ
         ซึ่งกรมปศุสัตว์ก�าลังด�าเนินการพัฒนาระบบมาตรฐานฟาร์มไก่
         พื้นเมืองเพื่อให้เกษตรกรมีการจัดการระบบที่ดีขึ้น เป็นสินค้าที่มี

         มาตรฐานรองรับ และเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค นอกจากนี้โรงฆ่า
         สัตว์เป็นกระบวนการหนึ่งที่จะท�าให้สินค้าออกไปสู่มือผู้บริโภค มี
         ความสะอาดและปลอดภัย ซึ่งปัจจุบันโรงฆ่าสัตว์ปีกขนาดเล็กยังไม่

         สามารถพัฒนาเข้าสู่ระบบมาตรฐาน GMP ได้ (คชาภรณ์, 2558)        ความเป็นมาของไก่พื้นเมืองในประเทศไทย
                การเลี้ยงไก่แบบปล่อย (Free-range system) เป็นระบบ
         การจัดการเลี้ยงไก่ที่ปล่อยให้ไก่ได้ออกมาอยู่ภายนอกคอกหรือ            ไก่พื้นเมืองไทย มีต้นก�าเนิดมาจากไก่ป่าใน
         โรงเรือนได้อย่างเป็นอิสระ เป็นพื้นที่มีหญ้าปกคลุม ท�าให้ไก่ได้  ทวีปเอเชีย ซึ่งมนุษย์ได้น�ามาเป็นสัตว์เลี้ยงเมื่อประมาณ
         แสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ เช่น การคลุกฝุ่น การไซร้ขน การ       3,000 ปีก่อน หลังจากที่มนุษย์น�าไก่มาเลี้ยง ไก่และ

         จิกกินพืช ผัก และแมลงท�าให้ไก่มีความสุข อารมณ์ดี จึงเรียกว่า   มนุษย์ด�ารงชีวิตแบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ไก่อาศัย
         “Happy chick” โดยสหภาพยุโรป มีข้อก�าหนดมาตรฐานการเลี้ยง      การเลี้ยงดูและการป้องกันอันตรายจากมนุษย์ ในขณะ
         ไก่แบบปล่อย จะต้องมีพื้นที่ภายนอกโรงเรือนอย่างน้อย 4 ตร.ม./ตัว   ที่มนุษย์อาศัยเนื้อไก่และไข่เป็นอาหาร เป็นการพึ่งพา

         และต้องมีพืชปกคลุมดิน ไก่จะต้องมีอิสระที่จะออกจากคอกได้      อาศัยซึ่งกันและกัน วิวัฒนาการของไก่เป็นไปตามวิถี
         ตลอดเวลา ภายในคอกต้องมีคอนนอน มีรังไข่ให้ไก่อย่างน้อย 7      ชีวิตของมนุษย์ผู้เป็นเจ้าของ และขึ้นอยู่กับธรรมชาติ
         แม่/รัง (Farhan, 2012) ซึ่งวิธีการเลี้ยงไก่แบบปล่อยนั้นสอดคล้อง  ในบางปีเกิดภัยธรรมชาติรุนแรง สัตว์เลี้ยงตายลง หรือ
         กับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เป็นการท�าให้ไก่มีความเป็นอยู่อย่าง  มีโรคระบาดรุนแรง ไก่จะตายมากแต่ไม่ตายหมด จะ
         ธรรมชาติ ร่วมด้วยกับการจัดการสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยที่ดี ท�าให้  มีเหลือให้ขยายพันธุ์จ�านวนหนึ่ง ตัวที่แข็งแรง และ

         ไก่ไม่เครียด มีความสุข มีภูมิต้านทานโรค มีผลท�าให้สุขภาพแข็งแรง   ทนทานเท่านั้นจึงจะอยู่รอดเป็นการคัดเลือกโดย
         ความจ�าเป็นที่ต้องใช้ยาป้องกันหรือรักษาจึงไม่มี (Department for   ธรรมชาติสืบต่อมา จนกลายเป็นไก่พื้นเมืองที่สืบทอด
         Environment, Food & Rural Affairs, 2012) ดังนั้นควรใช้ระบบ   จนถึงทุกวันนี้

         มาตรฐานการเลี้ยงไก่ไข่อินทรีย์มาประยุกต์ใช้ ซึ่งนอกจากจะมีวิธี       จากข้อมูลทางสถิติของกรมปศุสัตว์ ในปี 2560
         ปฏิบัติชัดเจนแล้ว ยังมีระบบการตรวจรับรองที่สร้างความเชื่อมั่น  มีเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่พันธุ์พื้นเมือง จ�านวน 2,430,663
         ให้ผู้บริโภค นอกจากนี้ราคาไข่ไก่อินทรีย์สามารถขายได้ในราคาที่  ราย มากสุดอยู่เขต 3 จ�านวน 584,746 ราย คิดเป็น
         สูงกว่าไข่ไก่ปกติหลายเท่า                                    ร้อยละ 24.06 รองลงมาเขต 4 จ�านวน 557,020 ราย
                                                                      คิดเป็นร้อยละ 22.92 และเขต 5 จ�านวน 345,850 ราย
                                                                      คิดเป็นร้อยละ 14.23 โดยมีการเลี้ยงไก่พื้นเมืองทั้งหมด

                                                                      88,858,089 ตัว ซึ่งเขต 3 มีเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่มากสุด
                                                                      ถึง 22,290,239 ตัว เขต 4 จ�านวน 16,708,361 ตัว และ
                                                                      เขต 5 จ�านวน 13,170,967 ตัว จังหวัดนครราชสีมา มี
                                                                      การเลี้ยงไก่พื้นเมืองมากที่สุด และจังหวัด อุบลราชธานี

                                                                      นครปฐม เชียงราย และสุรินทร์ ตามล�าดับ

                                                                                            มกราคม-เมษายน 2562 เกษตรอภิรมย์  49
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54