Page 42 -
P. 42

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 40                        Thai J. For. 35 (1) : 34-44 (2016)



                            ผลและวิจำรณ์                     อยู่ระหว่างร้อยละ 10-32 ซึ่งผลจากการศึกษาในครั้งนี้

                                                             พบว่า วิธีการชักน�าที่ 4 และวิธีการชักน�าที่ 1 ได้เนื้อไม้
                ปริมำณของเนื้อไม้ที่เกิดสำรกฤษณำ             กฤษณาที่สามารถน�าไปกลั่นน�้ามันกฤษณามากที่สุด
                        จากการสุ่มตัดต้นกฤษณาเพื่อศึกษาปริมาณ  คิดเป็นร้อยละ 32.21  และ 27.99 ต่อต้น ตามล�าดับ แต่

                กฤษณาที่เกิดจากวิธีการชักน�าที่แตกต่างกันของเกษตรกร  วิธีการชักน�าที่ 2 และวิธีการชักน�าที่ 3 ได้เนื้อไม้ที่เกิด
                ในท้องที่จังหวัดตราดพบว่า น�้าหนักเนื้อไม้กฤษณาที่  กฤษณาน้อยกว่าวิธีการชักน�าอื่นๆ  โดยเฉพาะวิธีการ
                สามารถสับแยกออกมาจากเนื้อไม้ปกติเพื่อน�าไปกลั่น  ชักน�าที่ 3 มีปริมาณเนื้อไม้ที่เกิดกฤษณาคิดเป็นร้อยละ
                หาน�้ามันกฤษณาได้นั้นมีปริมาณต่อต้นที่ค่อนข้างน้อย   10.84 ต่อต้น (Table 3)

                Table 3  Results of agarwood inducement in the stems of Aquilaria crassna growing in the
                         farmers’ plantations, Trat province.

                                                                                          Agarwood
                   Agarwood                              Period of   Total tree   Agarwood
                  inducement   Tree ages  Dbh*   Height   inducement   weight  woodchips   woodchips
                                                  (m)
                                                                                           per tree
                                (year)
                                         (cm)
                  technique*                             (month)    (kg/tree)   (kg/tree)
                                                                                           (% w/w)
                      1          12      14.15   10.22      8         81.20      21.87      27.99
                      2          13      19.74   11.00      43        82.50       9.07      12.37
                      3          14      18.93   11.87      12       105.57      11.20      10.85
                      4          12      23.42   15.03      16       211.77      67.87      32.21
                Note:    * Dbh = Diameter at breast height (cm)
                Remarks:  *Agarwood inducement technique;
                         Technique 1: Making holes around tree trunk, then inserted a secret recipe of substances in each hole
                                   with the application of sprinkler irritation system at height above ground level and at crown
                                   height level every day during dry season, 20 minutes a day for three months, and the other
                                   day for five months afterward.
                         Technique 2: Making holes on tree trunk in spiral arrangement, then inserted a plastic tube (1.5 cm in
                                   diameter) together with three capsules containing a secret recipe of substances in each hole.
                         Technique 3: Making holes around tree trunk from stem base to the height at five meters above ground
                                   level, 20 cm spacing between each hole, then inserted a secret recipe of substances in each
                                   hole.
                         Technique 4: Making holes around tree trunk, then inserted one bamboo stick painted with a secret recipe
                                   of substances in each hole.
                        Siripatanadilok et al. (1991) ได้ให้ข้อสังเกต  น้อยมากประมาณร้อยละ 12 (Table 3) เมื่อเทียบกับ
                ไว้ว่า ปริมาณการสะสมของกฤษณาที่เกิดในต้นกฤษณา  วิธีการอื่นๆ ที่ใช้เวลาในการชักน�าสั้นกว่า แต่ได้ปริมาณ
                ที่ถูกชักน�ามักจะเพิ่มขึ้นเมื่อระยะเวลาเพิ่มขึ้น แต่มีข้อ  กฤษณามากกว่า ดังนั้น การเน่าผุของเนื้อไม้อาจเป็น

                ควรระวังคือ การผุพังของเนื้อไม้ที่มักจะผันแปรไปตาม  ปัจจัยหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับปริมาณเนื้อไม้ที่สูญเสียไปจาก
                ระยะเวลาที่เพิ่มขึ้นด้วย หากพิจารณาจากการศึกษานี้   การชักน�าด้วยวิธีการนี้ ดังนั้น ระยะเวลาที่เหมาะสม
                จะเห็นว่าระยะเวลาที่ใช้ในการชักน�าให้เกิดกฤษณา  ส�าหรับชักน�าให้เกิดกฤษณาของแต่ละวิธีการก็เป็นสิ่ง

                ด้วยวิธีการชักน�าที่ 2 ซึ่งท�าการชักน�าและปล่อยทิ้งไว้  ส�าคัญที่ควรท�าการศึกษา เพราะหากปล่อยทิ้งไว้นาน
                นานถึง 43 เดือน แต่กลับได้ปริมาณเนื้อไม้เกิดกฤษณา  เกินไปปริมาณกฤษณาที่เกิดขึ้นกลับไม่ได้มีปริมาณเพิ่ม
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47