Page 39 -
P. 39

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 35 (1) : 34-44 (2559)                     37
                                                         ์



                           วิธีการชักน�าที่ 1  เจาะรูรอบล�าต้น จากนั้น        วิธีการชักน�าที่ 4  เจาะรูรอบล�าต้นกฤษณา
                 ใส่สารกระตุ้นไม่ทราบชนิดลงไปในรู และมีการให้น�้า  จากนั้นใส่ไม้ไผ่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.8-1
                 ระบบแบบฉีดเป็นฝอย (springer) บริเวณโคนต้น และ  ซม. ยาวประมาณ 20 ซม. ที่เคลือบด้วยสารกระตุ้นไม่ทราบ
                 ที่บริเวณเรือนยอดล�าต้นในช่วงแล้งทุกๆ วัน วันละ 20   ชนิดลงไปในรู ทิ้งไว้ 1 ปี จากนั้นท�าการชักน�าซ�้าวิธีการเดิม
                 นาที  ติดต่อกันเป็นระยะเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นให้  อีกครั้ง และทิ้งไว้เป็นเวลา 4 เดือน
                 น�้าวันเว้นวันติดต่อกันเป็นระยะเวลา 5 เดือน         2.  สุ่มตัดไม้กฤษณาตัวอย่างของแต่ละวิธีการ
                           วิธีการชักน�าที่ 2  เจาะรูเวียนรอบล�าต้น
                 กฤษณา ใส่ท่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 ซม. ทุกรู  ชักน�าๆ ละ 3 ต้น รวมทั้งหมด 12 ต้น เพื่อหาสัดส่วน
                 ที่ท�าการเจาะ จากนั้นใส่สารกระตุ้นไม่ทราบชนิดที่บรรจุ  ปริมาณของเนื้อไม้ ได้แก่ เนื้อไม้ส่วนที่เกิดกฤษณาและ

                 อยู่ในแคบซูล (capsule) ลงไปจ�านวน 3 เม็ด    เนื้อไม้ส่วนที่ไม่เกิดกฤษณา (w/w) ท�าการสับแยก
                           วิธีการชักน�าที่ 3  เจาะรูรอบล�าต้นกฤษณา  เนื้อไม้และจ�าแนกสีของชิ้นส่วนที่มีสีขาวคือ เนื้อไม้ปกติ
                 จากโคนต้นขึ้นไปจนถึงระดับความสูงจากพื้นดิน  และ ชิ้นส่วนของเนื้อไม้ที่มีสีเหลืองอ่อนถึงสีน�้าตาลเข้ม
                 ประมาณ  5 เมตร แต่ละรูห่างกันประมาณ 20 ซม. ใส่  คือ เนื้อไม้ที่เกิดกฤษณาซึ่งเป็นส่วนที่เกษตรกรจะน�าไป
                 สารกระตุ้นไม่ทราบชนิดลงไปในรูที่เจาะ        กลั่นเป็นน�้ามันกฤษณา (Figure 1)































                 Figure 1 Agarwood woodchips from the induction of agarwood formation in the stems of Aquilaria
               Figure 1  Agarwood woodchips from the induction of agarwood formation in the the stems of Aquilaria crassna
                         crassna in the farmers’ plantation, Trat province.
                        in the farmers’ plantation, Trat province.
                        3. น�าชิ้นไม้เกิดกฤษณาที่สับได้มาผึ่งแดด   กฤษณาที่บดแล้ว (Figure 2) มาแช่ในน�้าเปล่าให้ท่วม

                 เพื่อไล่ความชื้นออกจากเนื้อไม้เป็นระยะเวลาประมาณ   ตลอดผงไม้ ทิ้งไว้ 10-14 วัน ขึ้นอยู่กับการต้มกลั่นแต่ละ
                 12-48 ชั่วโมง จากนั้นจึงน�าไปบดด้วยเครื่องบดให้ชิ้นไม้  ประเภท น�าเนื้อไม้ส่วนที่เกิดกฤษณามากลั่นหาน�้ามัน
                 มีขนาดเล็กลงเพื่อเพิ่มผิวสัมผัสให้มากที่สุด น�าผงไม้   กฤษณาโดยใช้วิธีการกลั่นที่แตกต่างกัน 3 วิธีการได้แก่






























               Figure 2 Agarwood powders from the induction of agarwood formation in the stems of Aquilaria crassna in the
                      farmers’ plantation, Trat province.
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44