Page 38 -
P. 38
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
36 Thai J. For. 35 (1) : 34-44 (2016)
สร้างกฤษณาได้อีก แต่การศึกษานี้มีข้อจ�ากัดของตัวอย่าง ปลูกในสวนป่าของเกษตรกร ข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์
ที่ใช้ในการศึกษามีไม่เพียงพอนั่นเอง ประกอบการตัดสินใจปลูกป่าเพื่อผลตอบแทนที่เป็นไป
ส�าหรับการศึกษาเกี่ยวกับปริมาณหรือ ได้และน่าเชื่อถือ ส�าหรับเกษตรกรที่ปลูกไม้กฤษณาไป
ประสิทธิภาพในการสร้างกฤษณาในเนื้อไม้กฤษณา แล้ว และผู้ที่ก�าลังตัดสินใจจะปลูกสวนป่าไม้กฤษณา ลด
แต่ละชนิดยังมีไม่มากนัก เนื่องจากข้อจ�ากัดของชนิด ความเสียหายทั้งทางด้านเวลาและทรัพย์สินในขั้นตอน
ไม้กฤษณาในธรรมชาติและที่ปลูกในแปลงสวนป่า การชักน�าและกลั่นน�้ามันกฤษณา สร้างความเชื่อมั่น
และความแตกต่างของสภาพปัจจัยแวดล้อมในแต่ละ ให้แก่เกษตรกร และลดการลักลอบเก็บหากฤษณาที่
พื้นที่ รวมถึงขาดข้อมูลที่น่าเชื่อถือด้านวิธีการชักน�าให้ คุกคามต่อประชากรไม้กฤษณาในป่าธรรมชาติได้
เกิดกฤษณาที่ให้ผลผลิตหรือผลตอบแทนที่คงที่และ
แน่นอน ถึงแม้จะมีหลากหลายรูปแบบวิธีการชักน�า ไม่ อุปกรณ์ และวิธีกำร
ว่าจะเป็นวิธีการตอกตะปู มีดฟัน หรือ การใส่ชนิดตัว
กระตุ้นต่างๆ อาทิ จุลินทรีย์ เชื้อรา หรือสารเคมีลงไปใน 1. ส�ารวจและคัดเลือกวิธีการของเกษตรกร
ล�าต้นที่ถูกเจาะรูที่นิยมปฏิบัติกันอยู่ในปัจจุบันแล้ว ที่ใช้ปฏิบัติในการชักน�าให้เกิดกฤษณาจากต้นกฤษณา
ก็ตาม แต่ข้อมูลที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติและ ที่ปลูกในสวนป่าของเกษตรกรเอง โดยพยายามเลือก
ผลที่ได้รับในแต่ละวิธีการชักน�ายังมีรายงานไว้น้อยมาก ต้นกฤษณาเพื่อใช้ในการศึกษาให้มีอายุและระยะเวลา
ดังนั้น วัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้ เพื่อ ของการชักน�าใกล้เคียงกันมากที่สุด (Table 1) ซึ่งการ
ต้องการทราบปริมาณการเกิดกฤษณา รวมทั้งปริมาณและ ศึกษาครั้งนี้ได้ตัวอย่างต้นกฤษณาที่ถูกชักน�ามีทั้งหมด
คุณภาพของน�้ามันที่เป็นผลจากการชักน�าไม้กฤษณาที่ 4 วิธีการ ได้แก่
Table 1 Description of Aquilaria crassna trees for the induction of agarwood formation with
various inducement techniques in the farmers’ plantations, Trat province.
Details Technique 1* Technique 2* Technique 3* Technique 4*
Intercropped with
Planting pattern Monoculture Monoculture Monoculture
Para Rubber
Spacing (m × m) 2 × 2 2 × 2 2 × 4 4 × 5
Age (years) 12 13 14 12
Plantation area (Rai*) 50 50 10 21
Period of Inducement 8 43 12 16
(months)
Note: *1 acre = 2.5 Rai
Remarks: *Agarwood inducement technique;
Technique 1: Making holes around tree trunk, then inserted a secret recipe of substances in each hole
with the application of sprinkler irritation system at height above ground level and at crown
height level every day during dry season, 20 minutes a day for three months, and the other
day for five months afterward.
Technique 2: Making holes on tree trunk in spiral arrangement, then inserted a plastic tube (1.5 cm in
diameter) together with three capsules containing a secret recipe of substances in each hole.
Technique 3: Making holes around tree trunk from stem base to the height at five meters above ground
level, 20 cm spacing between each hole, then inserted a secret recipe of substances in each
hole.
Technique 4: Making holes around tree trunk, then inserted one bamboo stick painted with a secret
recipe of substances in each hole.