Page 21 -
P. 21
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 34 (1) : 16-28 (2558) 19
์
สมการแอลโลเมตรีด้วยค่าความโต (DBH) และความสูง อุปกรณ์และวิธีการ
(H) ของต้นไม้ที่วัดได้จากแปลงตัวอย่าง และการประมาณ
การกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินที่ประยุกต์ใช้ข้อมูล พื้นที่ศึกษา
ภาพถ่ายดาวเทียม Landsat 8 (OLI) ประเมินแบบเชิง ป่าพรุควนเคร็งมีเนื้อที่ประมาณ 86,942 ไร่
พื้นที่ด้วยสมการถดถอยที่สร้างจากความสัมพันธ์ ตั้งอยู่ในเขตอ�าเภอเชียรใหญ่, อ�าเภอเฉลิมพระเกียรติ,
กันระหว่างข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมกับค่าคาร์บอน อ�าเภอร่อนพิบูลย์, อ�าเภอชะอวด, อ�าเภอหัวไทร จังหวัด
เหนือพื้นดินต่อหน่วยเนื้อที่ที่หาได้จากภาคสนาม นครศรีธรรมราชและอ�าเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
(ONEP, 2011) ดัง Figure 1
Figure 1 Location of the study area.
การวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม
Figure 1 Location of the study area.
2
การจ�าแนกข้อมูลภาพ (image classification) N = Z (p)(q)
2
หลังจากเกิดไฟป่าโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียมไทยโชต E
(ส�าหรับจ�าแนกการใช้ที่ดิน) ชนิด multispectral ราย เมื่อ N = จ�านวนจุดส�ารวจ
ละเอียดจุดภาพ 15 เมตร บันทึกภาพเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม p = เปอร์เซ็นต์ความถูกต้องที่คาดหวัง
พ.ศ. 2555 (ส�านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิ 5 m 30 m q = เปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดที่ยอมรับได้
5 m
สารสนเทศ (องค์การมหาชน) ด้วยวิธีการจ�าแนกข้อมูล (1-p)
ภาพด้วยวิธีก�ากับ (supervised classification) แล้ว Z = ค่าพื้นที่จากตารางโค้งปกติมาตรฐาน
สร้างเป็นชั้นข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยโปรแกรมสารสนเทศ ในที่นี้ก�าหนดระดับความเชื่อมั่น 95
30 m
ภูมิศาสตร์ ท�าการตรวจสอบความถูกต้องของการจ�าแนก เปอร์เซ็นต์ (ระดับนัยส�าคัญ 0.05 มีค่า
ข้อมูล (accuracy assessment) โดยการสุ่มตัวอย่างแบบ เท่ากับ 1.96)
Figure 2 Designed sample plot with vary sizes according to satellite image resolution.
แบ่งชั้นภูมิ (stratified random sampling) ใช้จ�านวนจุด
E = เปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดที่เกิดจากการ
ส�ารวจขั้นต�่า อิงหลักการ Binomial Probability Theory วัดที่ยอมรับให้เกิดได้
ตามแนวทางของ Congalton and Green (1998) ดังนี้
Figure 3 Map of land cover classes derived from the supervised classification.