Page 20 -
P. 20
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
18 Thai J. For. 34 (1) : 16-28 (2015)
ที่การหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินภาคสนาม (ตัวแปรตาม) กับข้อมูลภาพถ่าย
ดาวเทียม Landsat 8 (OLI) (ตัวแปรอิสระ) ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยได้สมการที่ดีที่สุด คือ CS = 0.0323(G-R) -
2
6.5495 มีค่า R = 0.2126 (CS คือ ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดิน) เมื่อน�าสมการไปประมาณปริมาณการกัก
เก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินเชิงพื้นที่จากภาพถ่ายจากดาวเทียม Landsat 8 (OLI เมื่อ G คือ แบนด์ 3 Green, R คือ แบนด์ 4
Red) พบว่า มีปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินเท่ากับ 167,570.46 ตันคาร์บอน ต�่ากว่าการประมาณแบบดั้งเดิม
ค�าส�าคัญ: การกักเก็บคาร์บอน ป่าพรุ ป่าพรุควนเคร็ง ข้อมูลภาพดาวเทียม
ค�าน�า จะส่งผลกระทบในเรื่องการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิ
อากาศได้ ดังนั้น การได้ทราบถึงข้อมูลการเปลี่ยนแปลง
การบุกรุกและท�าลายป่าเพื่อเป็นที่ท�ากินมีการ ของสิ่งปกคลุมดิน และปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือ
กระท�าทั่วภูมิภาคของประเทศ ก่อให้เกิดความเสียหาย พื้นดินของพื้นที่ป่าพรุ จากการเกิดไฟป่าดังกล่าว จะเป็น
กับป่าไม้ของชาติ หลายกรณีที่การบุกรุกดังกล่าวได้ก่อ ประโยชน์ต่อการวางแผนเพื่อด�าเนินการแก้ไขปัญหา
ให้เกิดไฟป่าที่สร้างความเสียหายกับป่าและระบบนิเวศ ที่เกิดขึ้นกับพื้นที่ป่าพรุ และยังเป็นข้อมูลที่สามารถ
ที่ร้ายแรง ตัวอย่างเช่น การเกิดไฟป่าบริเวณป่าพรุควนเคร็ง ใช้ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนโดยทั่วไปได้ทราบถึง
จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือน ความเสียหายที่เกิดขึ้น เพื่อที่จะได้ตระหนักในการร่วมกัน
สิงหาคม พ.ศ. 2555 ที่เกิดขึ้นถึง 115 ครั้ง ท�าให้มีพื้นที่ แก้ปัญหาการบุกรุกพื้นที่และเผาป่าให้มากขึ้น
เสียหายประมาณ 9,913 ไร่ ซึ่งอยู่ในเขตห้ามล่าสัตว์ป่า การประเมินการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดิน
ทะเลน้อย เขตห้ามล่าสัตว์ป่าบ่อล้อ และป่าสงวนแห่งชาติ ของพื้นที่ป่าไม้ ถือได้ว่ามีความส�าคัญเป็นอย่างยิ่ง จะ
(Protected Areas Regional Office 5, 2011) สาเหตุ เห็นได้จากการที่พิธีสารเกียวโต (Kyoto protocol) ได้มี
เกิดจากปริมาณน�้าในป่าพรุลดลงเนื่องจากภัยแล้ง การยอมรับเอาประเด็นของการใช้ที่ดิน (land use) การ
ประกอบกับดินป่าพรุมีปริมาณซากพืชทับถมอยู่ที่ผิวดิน เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน (land use change) และป่าไม้
เป็นจ�านวนมาก จึงท�าให้เป็นเชื้อเพลิงอย่างดีของการเกิด (forest) เป็นส่วนหนึ่งของการพิจารณาเพื่อให้เกิดการลด
ไฟไหม้ นอกจากนี้ ยังมีการบุกรุกแผ้วถาง และเผาป่า ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในโลกอย่างเป็นรูปธรรม
เสม็ด เพื่อปรับสภาพพื้นที่และขุดร่องเพื่อปลูกปาล์ม การประเมินการกักเก็บคาร์บอนของป่าธรรมชาติ
น�้ามัน ท�าให้น�้าไหลลงสู่ร่องคูที่มีระดับต�่ากว่า ส่งผล ปกติมักต้องใช้งบประมาณสูง เพราะการส�ารวจในพื้นที่
ให้พื้นที่ป่าไม่สามารถเก็บน�้าได้เหมือนเดิมในช่วงฤดูฝน ให้ครอบคลุมทั่วถึงกระท�าได้ยาก ปัจจุบันจึงมีการน�า
อีกทั้งมีการใช้น�้าเพื่อการเกษตรในพื้นที่ข้างเคียงเพิ่มขึ้น เทคโนโลยีการรับรู้จากระยะไกลเข้ามาช่วยในการ
(Office of Natural Resources and Environmental ประเมิน เนื่องจากดาวเทียมให้ค่าการสะท้อนแสงใน
Policy and Planning: ONEP, 2011) ช่วงคลื่นที่แตกต่างกัน ท�าให้สามารถประเมินค่าการ
ผลจากการเกิดไฟป่าดังกล่าว ท�าให้สภาพพื้นที่ กักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินในพื้นที่ป่าไม้กระท�าได้
ป่าพรุเริ่มเปลี่ยนแปลงไป กล่าวคือ ระบบนิเวศของป่าพรุ สะดวก รวดเร็ว ใช้งบประมาณน้อยลง และได้ข้อมูล
เริ่มสูญเสีย สภาพแวดล้อมในป่าพรุเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ ส�าหรับการน�าไปใช้ประโยชน์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการ
ยังเป็นการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO ) ประเมินการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินของไม้ใน
2
สู่บรรยากาศและยังท�าให้ความสามารถในการกักเก็บ ป่าพรุควนเคร็งหลังจากเกิดไฟป่าอย่างรุนแรง เมื่อปี
คาร์บอนของป่าลดลง อันเป็นที่ยอมรับกันว่ามีส่วนที่ พ.ศ. 2555 โดยประมาณจากค่ามวลชีวภาพที่ค�านวณจาก