Page 23 -
P. 23

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 34 (1) : 16-28 (2558)                     21
                                                         ์



                ผ่านศูนย์กลางที่ระดับความสูงเพียงอก (DBH) และวัด  เป็นค่าน�้าหนักแห้งหรือมวลชีวภาพ และน�าตัวอย่าง
                ความสูงทั้งหมด (H) หลังจากนั้นท�าการตัดไม้ตัวอย่าง  ส่วนต่างๆ ขนาดประมาณ 1 นิ้ว ไปวิเคราะห์หาร้อยละความ
                ที่ระดับชิดดินและทุกๆ ระยะ 1 เมตร น�าไม้ตัวอย่าง  เข้มข้นของคาร์บอนที่สะสมอยู่ (carbon content)
                แต่ละท่อนไปชั่งน�้าหนัก จะได้น�้าหนักสดทั้งหมด  ด้วยวิธี dry combustion ที่ห้องปฏิบัติการวนวัฒนวิทยา
                ของไม้ตัวอย่างแต่ละต้น สุ่มตัวอย่างไม้อันตรภาคชั้นละ   คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                1 ต้น ตัดไม้ตัวอย่างบริเวณโคนต้น กลางต้น และปลาย
                ต้น ขนาดความหนาประมาณ 1 นิ้ว ชั่งน�้าหนักสด และ  การวิเคราะห์ข้อมูล
                เก็บตัวอย่างใส่ในถุงเก็บตัวอย่าง น�าตัวอย่างส่วนต่างๆ      ค�านวณหาปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน
                ของไม้ตัวอย่างไปอบในตู้อบที่อุณหภูมิ 80 องศา  (above-ground biomass) ของพันธุ์ไม้ในแปลงตัวอย่าง
                เซลเซียส เป็นเวลา 48 ชั่วโมง หรือจนกว่าน�้าหนักแห้ง  ในการศึกษาครั้งนี้ใช้สมการแอลโลเมตรีของพันธุ์ไม้
                ของตัวอย่างคงที่ จากนั้นบันทึกค่าน�้าหนักแห้งของ  ชนิดต่างๆ ที่ได้มีผู้ท�าการศึกษาไว้แล้ว (Table 1) ส่วน
                ตัวอย่าง เพื่อน�าไปเปลี่ยนค่าน�้าหนักสดของต้นไม้ให้  ไม้เสม็ดขาวที่ตายจะใช้สมการที่สร้างขึ้นในการศึกษานี้


                Table 1  Selected allometric equations used for calculating above-ground biomass of trees in
                         the study.
                             Species                  Allometric equation            Note
                 Melaleuca cajuputi saplings and other    *Ws  =  105.04(D) 1.9916  Study at Nakhon Si Thammarat
                 species                            *Wb  =  20.059(D) 2.1419  Province
                 Source: Wanthongchai (2013)         *Wl  =  6.247(D) 2.9918
                                                                 2
                 Melaleuca cajuputi trees           **W  =  0.062(D H) 0.91  Study at Narathiwat Province
                 Source: Tange et al. (2000)
                 Other trees besides Melaleuca cajuputi    **Ws  =  0.0396(D H) 0.9326  Study at Trat Province
                                                                  2
                 Source: Ogawa et al. (1965)       **Wb  =  0.006002(D H) 1.027
                                                                    2
                                                   **Wl  =  (18.0/Wtc+0.025) -1
                 Notes:   D   =  Diameter at breast height (cm)  Wl   =  Leaves of biomass
                                 H   =  Total height (m)       Wtc  =  Stem + branch of biomass
                                W   =  Total biomass           *    =  Biomass in gram
                               Ws  =  Stem of biomass          **   =  Biomass in kilogram
                               Wb  =  Branch of biomass
                        ประเมินหาค่าปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือ  ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดิน (ตัวแปรตาม)
                พื้นดินจากมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน โดยไม้หนุ่ม (sapling)   กับค่าข้อมูลเชิงตัวเลขของดาวเทียม Landsat 8 (OLI)
                กับไม้ใหญ่ (tree) ใช้ค่าความเข้มข้นของคาร์บอนค่ากลาง   ในช่วงคลื่นที่เกี่ยวข้องกับพืชพรรณ ได้แก่ G, R, NIR,

                (default value) ซึ่ง IPCC (2006) ได้ก�าหนดให้มีค่า  G-R, NIR-R, NIR/R, NDVI, TNDVI, GVI และ Fc
                เท่ากับ 0.47 หรือร้อยละ 47 ส่วนไม้เสม็ดขาวที่ตาย ใช้  (ตัวแปรอิสระ) โดยวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น (linear
                ค่าความเข้มข้นของคาร์บอนที่ได้จากการวิเคราะห์ร้อยละ  regression analysis) และใช้ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ
                คาร์บอนที่สะสมอยู่ และวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ  (R ) อธิบายความสัมพันธ์ น�าสมการที่ดีที่สุดไปประมาณ
                                                               2
                ทางเดียว (one way ANOVA) ระหว่างปริมาณการ    หาปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินของแต่ละ
                กักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินของแต่ละสภาพป่า ที่ระดับ  สภาพป่าในพื้นที่ป่าพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช
                ความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28