Page 26 -
P. 26
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
24 Thai J. For. 34 (1) : 16-28 (2015)
ไม้เสม็ดขาวที่ตายจะใช้ค่าความเข้มข้นของ เหนือพื้นดินของไม้หนุ่มมีค่ามากกว่า และไม้ใหญ่มีค่า
คาร์บอนที่ 0.48 หรือร้อยละ 48 ประเมินหาค่าปริมาณ น้อยกว่าการศึกษาของ Wanthongchai (2013) ที่ศึกษา
การกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินจากมวลชีวภาพเหนือ เกี่ยวกับปริมาณการกักเก็บคาร์บอนของเชื้อเพลิงเหนือ
พื้นดิน การหาปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินด้วย พื้นดินก่อนและหลังไฟไหม้ บริเวณป่าพรุควนเคร็ง พบ
สมการแอลโลเมตรี พบว่า มีมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ว่า ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินที่หลงเหลือ
เฉลี่ย 37.92 ตันต่อเฮกตาร์ โดยแยกเป็นมวลชีวภาพ ภายหลังไฟไหม้เท่ากับ 17.36 ตันคาร์บอนต่อเฮกตาร์
เหนือพื้นดินของไม้หนุ่มเท่ากับ 1.48 ตันต่อเฮกตาร์ แยกเป็นปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดิน ของ
ไม้ใหญ่เท่ากับ 35.22 ตันต่อเฮกตาร์ และไม้ตายเท่ากับ ไม้หนุ่มเท่ากับ 0.25 ตันคาร์บอนต่อเฮกตาร์ และไม้
1.22 ตันต่อเฮกตาร์ ซึ่งมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไม้หนุ่ม ใหญ่เท่ากับ 17.11 ตันคาร์บอนต่อเฮกตาร์
มีค่ามากกว่า และไม้ใหญ่มีค่าน้อยกว่าผลการศึกษาของ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว
Wanthongchai (2013) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับมวลชีวภาพของ (one way ANOVA) ของปริมาณการกักเก็บคาร์บอน
เชื้อเพลิงเหนือพื้นดินก่อนและหลังไฟไหม้ บริเวณป่าพรุ เหนือพื้นดินกับสภาพป่าต่างๆ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95
ควนเคร็ง พบว่า ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินที่หลงเหลือ เปอร์เซ็นต์ ผลการทดสอบปริมาณการกักเก็บคาร์บอน
ภายหลังไฟไหม้เท่ากับ 36.94 ตันต่อเฮกตาร์ แยกเป็น เหนือพื้นดินต่อหน่วยเนื้อที่ทีละคู่ พบว่า ป่าพรุสมบูรณ์
มวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไม้หนุ่มเท่ากับ 0.53 ตันต่อ กับป่าพรุเสื่อมโทรม มีระดับนัยส�าคัญของการทดสอบ
เฮกตาร์ และไม้ใหญ่เท่ากับ 36.41 ตันต่อเฮกตาร์ และ = 0.002 ซึ่งน้อยกว่าระดับนัยส�าคัญที่ก�าหนด (0.05)
ผลการศึกษาครั้งนี้ มีปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน จึงปฏิเสธ สมมติฐาน H และยอมรับสมมติฐาน H
0
1
สูงกว่ามวลชีวภาพเหนือพื้นดินที่รายงานโดย Tange หมายความว่า ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดิน
et al. (2000) ซึ่งศึกษาผลผลิตมวลชีวภาพป่าเสม็ดขาว ในพื้นที่ป่าพรุสมบูรณ์กับพื้นที่ป่าพรุเสื่อมโทรม มีความ
ในพื้นที่พรุบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ที่รายงานว่า มีมวล แตกต่างกัน เช่นเดียวกับพื้นที่ป่าพรุสมบูรณ์กับพื้นที่ไฟ
ชีวภาพเหนือพื้นดินประมาณ 6-16 ตันต่อเฮกตาร์ ไหม้ปี พ.ศ. 2553 (มีระดับนัยส�าคัญของการทดสอบ =
การประมาณหาค่าปริมาณการกักเก็บคาร์บอน 0.005) และพื้นที่ป่าพรุสมบูรณ์กับพื้นที่ไฟไหม้ปี พ.ศ.
เหนือพื้นดิน พบว่า มีปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือ 2555 (มีระดับนัยส�าคัญของการทดสอบ = 0.000) มี
พื้นดินเฉลี่ย 17.83 ตันคาร์บอนต่อเฮกตาร์ โดยแยกเป็น ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินแตกต่างกัน
ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินของไม้หนุ่ม ส่วนพื้นที่อื่นๆ มีปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้น
เท่ากับ 0.70 ตันคาร์บอนต่อเฮกตาร์ ไม้ใหญ่เท่ากับ ดินต่อหน่วยเนื้อที่ไม่แตกต่างกัน ที่ระดับความเชื่อมั่น
16.55 ตันคาร์บอนต่อเฮกตาร์ และไม้ตายเท่ากับ 0.58 95 เปอร์เซ็นต์ ดังแสดงใน Table 5
ตันคาร์บอนต่อเฮกตาร์ ซึ่งปริมาณการกักเก็บคาร์บอน